การทดสอบการลู่เข้า

ในทาง คณิตศาสตร์ การทดสอบการลู่เข้าเป็นวิธีการทดสอบหาการลู่เข้า การลู่เข้าแบบมีเงื่อนไข การลู่เข้าแบบสัมบูรณ์ ช่วงลู่เข้า หรือลู่ออกของอนุกรมอนันต์

รายการการทดสอบ

ถ้าลิมิตของส่วนของผลบวกหาค่าไม่ได้หรือไม่ใช่ศูนย์ นั่นคือ แล้วอนุกรมจะลู่ออก ในแง่นี้ ผลบวกย่อยจะเป็นแบบโคชี เฉพาะในกรณีที่ลิมิตหาค่าได้และมีค่าเท่ากับศูนย์เท่านั้น การทดสอบจะสรุปไม่ได้ ถ้าลิมิตของส่วนของผลบวกเป็นศูนย์ สามารถเรียกอีกอย่างได้ว่า การทดสอบด้วยพจน์ที่ n การทดสอบการลู่ออก หรือ การทดสอบอนุกรมลู่ออก

สามารถเรียกอีกอย่างได้ว่า เกณฑ์ของดาล็องแบร์

พิจารณาลิมิตสองลิมิต และ ถ้า อนุกรมจะลู่ออก ถ้า อนุกรมจะลู่เข้าโดยสัมบูรณ์ ถ้า การทดสอบจะสรุปไม่ได้ และอนุกรมอาจลู่เข้าแบบสมบูรณ์ แบบมีเงื่อนไข หรือลู่ออกได้

สามารถเรียกอีกอย่างได้ว่า การทดสอบโดยรากที่ n หรือ เกณฑ์ของโคชี

ให้
เมื่อ หมายถึงลิมิตซูพีเรียร์ (อาจได้ หากมีลิมิตก็จะมีค่าได้เดิม)
ถ้า r < 1 แล้วอนุกรมนั้นจะลู่เข้าแบบสัมบูรณ์ หาก r > 1 แล้วอนุกรมนี้จะลู่ออก ถ้า r = 1 การทดสอบโดยรากจะสรุปไม่ได้ และอนุกรมอาจลู่เข้าหรือลู่ออกจากกัน

การทดสอบรากจะเข้มกว่าการทดสอบอัตราส่วน เมื่อใดที่การทดสอบด้วยอัตราส่วนกำหนดการลู่เข้าหรือลู่ออกของอนุกรมอนันต์ การทดสอบรากก็จะกำหนดการลู่เช่นกัน แต่บทกลับอาจไม่เป็นจริงเสมอไป [1]

อนุกรมสามารถเปรียบเทียบกับปริพันธ์เพื่อกำหนดการลู่เข้าหรือลู่ออก ให้ เป็น ฟังก์ชันไม่เป็นลบและลดลงทางเดียว โดยที่ ถ้าให้ แล้วอนุกรมนี้ก็จะลู่เข้า แต่ถ้าปริพันธ์ลู่ออก อนุกรมก็จะลุ่ออกด้วย กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คืออนุกรมของ ลุ่เข้าก็ต่อเมื่อปริพันธ์ลู่เข้า

การทดสอบโดยใช้อนุกรมพี

บทย่อยที่ใช้กันบ่อยของการทดสอบด้วยปริพันธ์คือการทดสอบโดยใช้อนุกรมพี ให้ แล้ว จะลู่เข้า ถ้า

กรณีที่ จะได้อนุกรมฮาร์มอนิกที่ลู่ออก กรณีที่ คือปัญหาบาเซิล และอนุกรมจะลู่เข้าหา โดยทั่วไปแล้ว สำหรับ อนุกรมนี้จะเท่ากับฟังก์ชันซีตาของรีมันน์ที่นำไปใช้กับ นั่นก็คือ

ถ้าอนุกรม เป็นอนุกรมลู่เข้าแบบสัมบูรณ์ และ สำหรับ n ที่มากพอ แล้อนุกรม จะลู่เข้าแบบสัมบูรณ์

ถ้า (นั่นคือทุกสมาชิกของลำดับทั้งสองเป็นค่าบวก) และลิมิต หาค่าได้ เป็นจำนวนจำกัดและไม่เป็นศูนย์ ดังนั้นอนุกรมทั้งสองจะลู่เข้าหรือลู่ออกทั้งคู่

ให้ เป็นลำดับที่ไม่เป็นลบและไม่เพิ่ม แล้วผลรวม จะลู่เข้า ก็ต่อเมื่อผลรวม ลู่เข้า ยิ่งไปกว่านั้น ถ้าลู่เข้าแล้ว จะเป็นจริง

สมมุติให้ข้อความต่อไปนี้เป็นจริง

  1. เป็นอนุกรมที่ลู่เข้า
  2. เป็นลำดับทางเดียวและ
  3. มีขอบเขตจำกัด

แล้ว ก็จะลู่เข้าด้วย

อนุกรมลู่เข้าแบบสัมบูรณ์ทุกอนุกรมจะลู่เข้า

สมมุติให้ข้อความต่อไปนี้เป็นจริง

  • เป็นลำดับทางเดียว

แล้ว และ เป็นอนุกรมลู่เข้า การทดสอบนี้เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เกณฑ์ของไลบ์นิทซ์

ถ้า เป็นลำดับของจำนวนจริง และ ลำดับของจำนวนเชิงซ้อนที่สอดคล้องกับ

  • สำหรับทุกจำนวนเต็มบวก N

โดยที่ M เป็นค่าคงที่ ดังนั้นอนุกรม

ลู่เข้า

อนุกรม จะลู่เข้าก็ต่อเมื่อสำหรับทุก มีจำนวนนับ N ที่

เป็นจริงสำหรับทุก n > N และทุก p ≥ 1

ให้ และ เป็นลำดับของจำนวนจริงสองลำดับ สมมติว่า เป็นลำดับลู่ออกทางเดียวโดยแท้ และลิมิตต่อไปนี้หาค่าได้

แล้วลิมิต

สมมติให้ (fn) เป็นลำดับของฟังก์ชันค่าจริงหรือค่าเชิงซ้อนที่ถูกกำหนดบนเซต A และมีลำดับของจำนวนไม่เป็นลบ (Mn) ที่สอดคล้องเงื่อนไข

  • สำหรับทุก และทุก , และ
  • ลู่เข้า

แล้วอนุกรม

ลู่เข้าแบบสัมบูรณ์และเอกรูปบน A

ส่วนขยายของการทดสอบด้วยอัตราส่วน

การทดสอบด้วยอัตราส่วนอาจไม่ชัดเจนเมื่อลิมิตของอัตราส่วนเท่ากับ 1 อย่างไรก็ตาม ส่วนขยายของการทดสอบด้วยอัตราส่วนบางครั้งช่วยให้สามารถจัดการกับกรณีนี้ได้

ให้ {an} เป็นลำดับของจำนวนบวก

กำหนดให้

ถ้า

มีความเป็นไปได้สามทาง

  • ถ้า L > 1 อนุกรมลู่เข้า (รวมถึงกรณี L = ∞)
  • ถ้า L < 1 อนุกรมจะลู่ออก
  • และถ้า L = 1 การทดสอบไม่สามารถสรุปผลได้

สูตรทางเลือกสำหรับการทดสอบนี้สามรถเขียนได้ดังนี้ ให้ an เป็นลำดับของจำนวนจริง แล้วถ้า b > 1 และ K (จำนวนธรรมชาติ) มีอยู่ได้ว่า

สำหรับทุก n > K ดังนั้นอนุกรม {an} จะลู่เข้า

ให้ {an} เป็นลำดับของจำนวนบวก นิยามให้

ถ้า

มีอยู่สามความเป็นไปได้ [2]

  • ถ้า L > 1 อนุกรมจะลู่เข้า (รวมถึงกรณี L = ∞)
  • ถ้า L < 1 อนุกรมจะลู่ออก
  • และถ้า L = 1 การทดสอบนั้นไม่สามารถสรุปผลได้

ให้ {an} เป็นลำดับของจำนวนบวก ถ้า สำหรับบาง β > 1 แล้ว ลู่เข้าถ้า α > 1 และลู่ออกถ้า α ≤ 1 [3]

ให้ {an} เป็นลำดับของจำนวนบวกแล้ว [4][5][6]

(1) ลู่เข้าก็ต่อเมื่อมีลำดับ ของจำนวนบวกและจำนวนจริง c > 0 โดยที่ -

(2) จะลู่ออกก็ต่อเมื่อมีลำดับ ของจำนวนบวกที่ทำให้

และ ลู่ออก

การทดสอบของอาบู-มุสตาฟา

ให้ เป็นอนุกรมอนันต์ที่มีพจน์จริงและให้ เป็นฟังก์ชันจริงใด ๆ ที่ สำหรับทุกจำนวนเต็มบวก n และอนุพันธ์อันดับสอง หาค่าได้ที่ แล้ว ลู่เข้าแบบสัมบูรณ์ถ้า และลู่ออกในกรณีอื่น [7]

หมายเหตุ

ตัวอย่าง

พิจารณาอนุกรม

 

 

 

 

 

(i)

<a href="./การทดสอบด้วยการควบแน่นโคชี" rel="mw:WikiLink" data-cx="{&quot;userAdded&quot;:true,&quot;adapted&quot;:true}" data-linkid="undefined">การทดสอบด้วยการควบแน่นโคชี</a>บอกว่า (i) ลู่เข้าแบบจำกัดถ้า

 

 

 

 

 

(ii)

เป็นลู่เข้าแบบจำกัด เนื่องจาก

(ii) เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่มีอัตราส่วน (ii) จะลู่เข้าแบบจำกัดถ้าอัตราส่วนน้อยกว่าหนึ่ง (กล่าวคือ ). ดังนั้น (i) จะลู่เข้าแบบจำกัดก็ต่อเมื่อ .

การลู่เข้าของผลคูณ

แม้ว่าการทดสอบส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับการลู่เข้าของอนุกรมอนันต์ แต่ก็สามารถใช้แสดงการลู่เข้าหรือการลู่ออกจากกันของผลคูณอนันต์ ได้เช่นกันสามารถทำได้โดยใช้ทฤษฎีบทต่อไปนี้ ให้ เป็นลำดับของจำนวนบวก แล้วผลคูณอนันต์ จะลู่เข้าก็ต่อเมื่ออนุกรมนี้ ลู่เข้า ในทำนองเดียวกัน ถ้า เป็นจริง แล้ว จะเข้าใกล้ลิมิตที่ไม่เป็นศูนย์ก็ต่อเมื่ออนุกรม ลู่เข้า

สามารถพิสูจน์ได้โดยการใช้ลอการิทึมของผลคูณและใช้การทดสอบด้วยการเปรียบเทียบโดยใช้ลิมิตต [8]

ดูเพิ่มเติม

อ้างอิง

  1. Wachsmuth, Bert G. "MathCS.org - Real Analysis: Ratio Test". www.mathcs.org.
  2. Weisstein, Eric W. "Bertrand's Test". mathworld.wolfram.com (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2020-04-16.
  3. Hazewinkel, Michiel, บ.ก. (2001), "Gauss criterion", Encyclopedia of Mathematics, Springer, ISBN 978-1-55608-010-4
  4. "Über die Convergenz und Divergenz der unendlichen Reihen". Journal für die reine und angewandte Mathematik. 1835 (13): 171–184. 1835-01-01. doi:10.1515/crll.1835.13.171. ISSN 0075-4102.
  5. Tong, Jingcheng (1994). "Kummer's Test Gives Characterizations for Convergence or Divergence of all Positive Series". The American Mathematical Monthly. 101 (5): 450–452. doi:10.2307/2974907. JSTOR 2974907.
  6. Samelson, Hans (1995). "More on Kummer's Test". The American Mathematical Monthly (ภาษาอังกฤษ). 102 (9): 817–818. doi:10.1080/00029890.1995.12004667. ISSN 0002-9890.
  7. Abu-Mostafa, Yaser (1984). "A Differentiation Test for Absolute Convergence" (PDF). Mathematics Magazine. 57 (4): 228–231.
  8. Belk, Jim (26 January 2008). "Convergence of Infinite Products".

อ่านเพิ่มเติม

 

Prefix: a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

Portal di Ensiklopedia Dunia