ในทางคณิตศาสตร์ อนุกรมเรขาคณิต เป็นอนุกรมที่พจน์ต่าง ๆ ถูกสร้างขึ้นโดยการคูณพจน์ก่อนหน้าด้วยค่าคงตัวค่าหนึ่ง นั่นคือมาจากลำดับเรขาคณิต ตัวอย่างเช่น
![{\displaystyle 1+{1 \over 2}+{1 \over 4}+{1 \over 8}+{1 \over 16}+\cdots =\sum _{n=0}^{\infty }{1 \over 2^{n}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/89dd6021a8aa1d68aa1cea3c7d18abc70791ba82)
และโดยทั่วไป อนุกรมเรขาคณิต
![{\displaystyle \sum _{n=0}^{\infty }ar^{n}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/9c6f1fc93b597059d32c0d88e4761959a5e4740c)
จะเป็นอนุกรมลู่เข้าก็ต่อเมื่อ
ผลรวม
ผลรวมย่อย
ผลรวมย่อยของ n พจน์แรกคือ
![{\displaystyle \sum _{k=0}^{n}ar^{k}=ar^{0}+ar^{1}+ar^{2}+ar^{3}+\cdots +ar^{n}\,\!}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/384366da89e72a55a44667d5c2d02c30526de6f8)
คูณทั้งสองข้างของสมการด้วย
ได้
![{\displaystyle {\begin{aligned}(1-r)\sum _{k=0}^{n}ar^{k}&=(1-r)(a+ar+ar^{2}+...+ar^{n})\\&=(a+ar+ar^{2}+...+ar^{n})-r(a+ar+ar^{2}+...+ar^{n})\\&=(a+{\cancel {ar}}+{\cancel {ar^{2}}}+...+{\cancel {ar^{n}}})-({\cancel {ar}}+{\cancel {ar^{2}}}+{\cancel {ar^{3}}}...+ar^{n+1})\\&=a-ar^{n+1}\end{aligned}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/376e0e8c069d2be3532b68edfb90b523ab119218)
ซึ่งพจน์อื่น ๆ จะตัดกันหายไปหมด จัดรูปแบบใหม่ จะได้สูตรสำหรับคำนวณผลรวม โดยที่ r ≠ 1
![{\displaystyle \sum _{k=0}^{n}ar^{k}={\frac {a(r^{n+1}-1)}{r-1}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/e01e0b10ead9048a802d280efa8ee84f1e7d0b78)
ดังนั้นกรณีทั่วไปของสูตรนี้คือ
![{\displaystyle \sum _{k=m}^{n}ar^{k}={\frac {a(r^{n+1}-r^{m})}{r-1}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/9215bef9349f7647f2438ad73a02a93aa16e9e3c)
สำหรับอนุกรมเรขาคณิตที่มีแต่เลขชี้กำลังของ r เป็นจำนวนคู่ คูณทั้งสองข้างด้วย
![{\displaystyle (1-r^{2})\sum _{k=0}^{n}ar^{2k}=a-ar^{2n+2}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/1b6208a97cdfe80f68546797239e2a9e61993204)
จะได้สูตร
![{\displaystyle \sum _{k=0}^{n}ar^{2k}={\frac {a(1-r^{2n+2})}{1-r^{2}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/c545115650104a8f91c520190a92f9a9f8ec99ae)
ส่วนเลขชี้กำลังของ r ที่มีแต่จำนวนคี่
![{\displaystyle (1-r^{2})\sum _{k=0}^{n}ar^{2k+1}=ar-ar^{2n+3}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/101bf908e512f95bc9144fc4a4764f387bd929e2)
จะได้สูตร
![{\displaystyle \sum _{k=0}^{n}ar^{2k+1}={\frac {ar(1-r^{2n+2})}{1-r^{2}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/01e1e1952093bc14503a33bf4ee43247fcd4e573)
ผลรวมทั้งหมด
สามารถคำนวณได้จากสูตรของผลรวมจำกัด
![{\displaystyle \sum _{k=0}^{\infty }ar^{k}=\lim _{n\to \infty }{\sum _{k=0}^{n}ar^{k}}=\lim _{n\to \infty }{\frac {a(1-r^{n+1})}{1-r}}=\lim _{n\to \infty }{\frac {a}{1-r}}-\lim _{n\to \infty }{\frac {ar^{n+1}}{1-r}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/81b204942321f7775ca03dd63dad27bd449052ac)
ซึ่ง
จะมีค่าเข้าใกล้ 0 เมื่อ k มีค่าเข้าใกล้อนันต์ก็ต่อเมื่อ
ดังนั้น
![{\displaystyle \sum _{k=0}^{\infty }ar^{k}={\frac {a}{1-r}}-0={\frac {a}{1-r}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/438918f4b99abdc0503fdf70d05d201aa6672bc8)
สำหรับอนุกรมเรขาคณิตที่มีแต่เลขชี้กำลังของ r เป็นจำนวนคู่ จะได้สูตร
![{\displaystyle \sum _{k=0}^{\infty }ar^{2k}={\frac {a}{1-r^{2}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/90bd50008e8189004ae2eb0e37c9e7fb8b99c1a8)
ส่วนเลขชี้กำลังของ r ที่มีแต่จำนวนคี่ จะได้สูตร
![{\displaystyle \sum _{k=0}^{\infty }ar^{2k+1}={\frac {ar}{1-r^{2}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/20f10dae60dc44e4c7c6f0f696f2c86345f191d4)
โดยที่สูตรทั้งหมดด้านบนจะใช้ได้เมื่อ
เท่านั้น นอกเหนือจากนี้จะเป็นอนุกรมลู่ออก
การนำไปใช้
ทศนิยมซ้ำ
สูตรผลรวมของอนุกรมเรขาคณิตใช้เขียนทศนิยมซ้ำเป็นเศษส่วนได้ โดยตัวอย่างเช่น 0.121212... เขียนได้เป็นอนุกรมเรขาคณิตที่มี a = 12/100 และ r = 1/100 ดังนี้
ในทำนองเดียวกันสามารถพิสูจน์ได้ว่า ทศนิยมซ้ำที่มีช่วงซ้ำยาว n หลัก จะสามารถเขียนในรูปของเศษส่วนที่มีเศษเป็นชุดตัวเลขที่ซ้ำ และส่วนเป็น 10n - 1
อนุกรมกำลัง
จากสูตร
เมื่อ ![{\displaystyle |x|<1}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/2f9498d60b2319a4ae7c5607794b537c559a976d)
สามารถนำไปพิสูจน์อนุกรมอื่น ๆ ได้โดยแคลคูลัส เช่น เมื่อนำสูตรนี้ไปหาอนุพันธ์ซ้ำ ๆ จะได้
เมื่อ ![{\displaystyle |x|<1}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/2f9498d60b2319a4ae7c5607794b537c559a976d)
เมื่อ ![{\displaystyle |x|<1}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/2f9498d60b2319a4ae7c5607794b537c559a976d)
เมื่อ ![{\displaystyle |x|<1}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/2f9498d60b2319a4ae7c5607794b537c559a976d)
เป็นเช่นนี้เรื่อยไป