ศาสนาในประเทศญี่ปุ่น (งานวิจัยของเอ็นเอชเค ใน ค.ศ. 2018)[ 4]
ไม่มี (62%)
อื่น ๆ (1%)
ไม่ระบุ (2%)
ศาสนาในประเทศญี่ปุ่น ส่วนใหญ่นับถือลัทธิชินโต กับศาสนาพุทธ ประมาณ 80% ทำพิธีชินโต สักการะบรรพบุรุษและคามิ ที่แท่นบูชาประจำบ้านกับศาลเจ้าชินโต ซึ่งมีจำนวนมากพอ ๆ กับศาสนาพุทธ การผสานระหว่างทั้งสอง เรียกโดยทั่วไปว่า ชินบุตสึ-ชูโง ก่อนที่จะมีรัฐชินโต ในศตวรรษที่ 19[ 5] ในขณะที่ประชากรส่วนใหญ่นับถือชินโต มีแค่ 3% ที่ตอบในใบสอบถาม เพราะเข้าใจว่าบ่งบอกถึงลัทธิชินโต[ 6] [ 7] ประมาณสองในสามระบุเป็น "ไม่มีศาสนา" (無宗教, มูชูเกียว ) และไม่ถือเป็นไม่มีศาสนา เพราะ มูชูเกียว กล่าวถึงศาสนาที่ดูปกติ "ธรรมดา" ในขณะที่ปฏิเสธการเข้าร่วมกับขบวนการที่ถูกกล่าวเป็นพวกต่างชาติหรือหัวรุนแรง[ 8] .
ศาสนาหลัก
ลัทธิชินโต
ชินโต หรือ คามิโนะมิจิ คือศาสนาพื้นเมืองดั้งเดิมของชาวญี่ปุ่น ที่ประชาชนญี่ปุ่นส่วนใหญ่นับถือ[ 9] จอร์จ วิลเลียม ระบุว่าชินโตเป็นศาสนาที่เน้นการกระทำ[ 10] โดยเฉพาะการปฏิบัติพิธีกรรมอย่างเคร่งครัดเพื่อเชื่อมโยงรากเหง้าของญี่ปุ่นโบราณ[ 11] มีเอกสารทางศาสนา คือ โคจิกิ และ นิฮงโชกิ บันทึกและประมวลแนวทางการปฏิบัติตามธรรมเนียมชินโตเป็นครั้งแรกเมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ 8 ซึ่งเป็นการรวบรวมความเชื่อพื้นเมืองและเทวตำนานต่าง ๆ เอาไว้ หาใช่ลัทธิชินโตที่เป็นเอกภาพ[ 12] กระทั่งคริสต์ศตวรรษที่ 21 ลัทธิชินโตมีศาลเจ้า เป็นของตนเอง ภายในประดิษฐานเทพเจ้าหลายพระองค์ เรียกว่า คามิ [ 13] ซึ่งศาลเหล่านี้สร้างด้วยวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย เช่น เป็นอนุสาวรีย์จากสงคราม การเกษตรกรรม และใช้เพื่อองค์กรศาสนาด้านอื่น ๆ ด้วย ศาสนิกชนมีความเชื่อที่หลากหลาย และมีธรรมเนียมปฏิบัติที่ต่างกันออกไปในแต่ละท้องถิ่น มีการใช้เครื่องแต่งกายและพิธีกรรมทางศาสนาที่ตกทอดมาแต่ยุคนาระ (ค.ศ. 710–794) และยุคเฮอัง (ค.ศ. 794–1185)[ 12]
คำว่า "ชินโต" เดิมออกเสียงว่า ชินโด [ 14] เป็นคำจากภาษาจีน ว่า เฉินต่าว (จีน : 神道 ; พินอิน : shén dào )[ 15] ประกอบด้วยคันจิสองตัวคือคำว่า ชิน (神) แปลว่า วิญญาณ หรือคามิ กับคำว่า โต (道) แปลว่า เส้นทางแห่งปรัชญาหรือการศึกษา[ 12] [ 15] ปรากฏชื่อ "ชินโด" ครั้งแรกในเอกสารยุคหลังคริสต์ศตวรรษที่ 6[ 14] ส่วน คามิ มีความหมายว่า "วิญญาณ" "แก่นแท้" หรืออาจแปลว่า "เทพเจ้า" อันหมายถึงพลังงานที่ก่อให้เกิดปรากฏการณ์ต่าง ๆ[ 16] คามิปรากฏอยู่หลายรูปแบบ ตั้งแต่ หิน ต้นไม้ แม่น้ำ สัตว์ สถานที่ หรือแม้แต่มนุษย์[ 16] คามิกับมนุษย์ไม่อาจแยกออกจากกัน เพราะอาศัยอยู่บนโลกเดียวกัน และต่างมีความสัมพันธ์ที่ซับซ้อนต่อกัน[ 12]
ลัทธิชินโตถือเป็นศาสนาที่มีประชากรนับถือมากที่สุดในประเทศ มีประชากรราวร้อยละ 80 ปฏิบัติตนตามธรรมเนียมชินโต แต่มีประชากรน้อยมากที่ระบุตนเองว่าเป็นศาสนิกชนของชินโตในการสำรวจ เพราะชาวญี่ปุ่นเข้าศาลเจ้าชินโต และขอพรจากเทพเจ้าได้ โดยไม่ต้องเข้าร่วมองค์กรทางศาสนาใด ๆ[ 6] ทั้งยังไม่มีพิธีกรรมเพื่อเข้าเป็นศาสนิกชนชินโตอย่างเป็นทางการ หากจะมีการนับก็จะประมาณการจากจำนวนผู้เข้าร่วมนิกายย่อยของลัทธิชินโตที่จัดตั้งใหม่แทน[ 7] มีศาลเจ้าชินโต 100,000 แห่ง[ 13] และมีนักบวช จำนวน 78,890 คน ทั่วประเทศญี่ปุ่น[ 17]
ศาสนาพุทธ
ศาสนาพุทธเข้าสู่ประเทศญี่ปุ่นครั้งแรก เมื่อ ค.ศ. 538 หรือ 552[ 18] โดยแพร่หลายมาจากอาณาจักรแพ็กเจ (ปัจจุบันอยู่ในประเทศเกาหลีใต้ )[ 18] กษัตริย์แพ็กเจส่งม้วนภาพพระพุทธเจ้าและพระสูตรบางส่วนให้แก่จักรพรรดิญี่ปุ่น จากนั้นศาสนาพุทธก็เผชิญการต่อต้านจากกลุ่มอนุรักษ์นิยมในช่วงระยะสั้น ๆ ราชสำนักญี่ปุ่นจึงให้การยอมรับศาสนาพุทธใน ค.ศ. 587[ 18] ในช่วงเวลานั้นรัฐยามาโตะมีอำนาจเหนือชนเผ่าต่าง ๆ มีความเชื่อเรื่องเทพบรรพชนและเทพจากธรรมชาติ[ 19] ในช่วงเวลานั้นก็เริ่มมีชนกลุ่มอื่นอพยพเข้ามาบนหมู่เกาะญี่ปุ่น ได้แก่ คลื่นผู้อพยพจากคาบสมุทรเกาหลี [ 20] ชนบนหลังม้าจากเอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ[ 18] และการรับวัฒนธรรมจีนแผ่นดินใหญ่ยุคราชวงศ์สุย [ 21] [ 20] ศาสนาพุทธให้การสนับสนุนอำนาจรัฐ และหล่อหลอมตนเองเข้ากับวัฒนธรรมเอเชียตะวันออก[ 19] คณะขุนนางญี่ปุ่นเริ่มสร้างวัดพุทธที่เมืองนาระ และเมืองเฮอัง (ปัจจุบันคือเกียวโต )[ 19]
เมื่อรัฐบาลโชกุน มีอำนาจในคริสต์ศตวรรษที่ 12 มีการย้ายเมืองหลวงฝ่ายบริหารไปที่เมืองคามากูระ ศาสนาพุทธรูปแบบอื่น ๆ ก็เข้ามาเผยแผ่มากขึ้น โดยเฉพาะนิกายเซน ซึ่งเป็นนิกายที่ได้รับความนิยมมาก และในยุคฟื้นฟูเมจิ เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19 มีนโยบายยกลัทธิชินโตเป็นศาสนาประจำชาติ มีการแยกศาสนสถานของชินโตกับพุทธออกจากกัน ตามมาด้วยนโยบายกำจัดศาสนาพุทธอย่างเป็นระบบ หวังให้หมดไปจากแผ่นดินญี่ปุ่น เรียกว่า ไฮบุตสึคิชากุ
ค.ศ. 2018 มีพระภิกษุ นักพรต และผู้นำของศาสนาพุทธมากกว่า 355,000 รูป[ 22] ซึ่งเพิ่มขึ้นจากเดิมคือจำนวน 40,000 รูป เมื่อ ค.ศ. 2000[ 23]
การจำแนกประชากร
รายงานจากงานวิจัยรวบรวมสถิติศาสนารายปีใน ค.ศ. 2015 โดยทบวงวัฒนธรรม, รัฐบาลญี่ปุ่น : มีกลุ่มผู้นับถือศาสนา 181,000 กลุ่มในประเทศญี่ปุ่น[ 24]
รายงานจากงานวิจัยใน ค.ศ. 2006[ 25] และ 2008[ 26] ชาวญี่ปุ่นที่ระบุตัวตนเป็นศาสนาองค์กร มีน้อยกว่า 40% ของประชากร ประมาณ 35% นับถือศาสนาพุทธ , 3 ถึง 4% เป็นสมาชิกของลัทธิชินโต และน้อยกว่า 1%[ 27] [ 28] [ 29] ถึง 2.3% นับถือศาสนาคริสต์ [ note 1]
ผู้นับถือศาสนาในญี่ปุ่นแบ่งตามจังหวัด (ค.ศ. 1996)[ 31]
จังหวัด
พุทธ เท็นได หรือชิงงง
พุทธ นิกาย สุขาวดี
พุทธ นิกาย เซน
พุทธ นิชิเร็น
สมาคม สร้างคุณค่า
สำนักพุทธอื่นๆ
พุทธ องค์รวม
สำนักหรือ องค์กรชินโต
คริสต์
ชินโต พื้นบ้าน หรือไม่นับถือ
ฮกไกโด
~3%
13.3%
8.2%
3.2%
~2%
~2%
~31.7%
~2%
~1%
~65.3%
อาโอโมริ
~1%
10.3%
5.6%
3.4%
~2%
~3%
~25.3%
~2%
~1%
~71.7%
อิวะเตะ
~2%
6.1%
12.8%
~0
~2%
~3%
~25.9%
~0
~1%
~73.1%
มิยางิ
~3%
4.8%
9.5%
~2%
~2%
~2%
~23.3%
~0
~1%
~75.7%
อากิตะ
~0
6.9%
9.5%
~3%
~2%
~2%
~21.4%
~3%
~0
~75.6%
ยามางาตะ
~4%
5.6%
8.5%
~3%
~3%
3.4%
~27.5%
~2%
~1%
~69.5%
ฟูกูชิมะ
5.2%
4.8%
5.2%
~0
~3%
~3%
~21.2%
~0
~0
~78.8%
อิบารากิ
7.1%
4.1%
~2%
~2%
~3%
~2%
~20.2%
~1%
~1%
~77.8%
โทจิงิ
6%
3.1%
~3%
~3%
3.1%
~2%
~20.2%
~0
~1
~78.8%
กุมมะ
6.6%
3.6%
5.8%
~3%
~3%
~2%
~24%
~1%
~2%
~73%
ไซตามะ
5.8%
5.2%
~3%
~2%
3.3%
~1%
~20.3%
~0
~2%
~77.7%
ชิบะ
3.8%
4.5%
~1%
3.3%
~3%
~1%
~16.6%
~0
~1%
~82.4%
โตเกียว
3.4%
8.3%
~2%
3.3%
4%
~2%
~23%
~1%
3.4%
~72.6%
คานางาวะ
~3%
5.5%
3.7%
3.7%
3.5%
~2%
~21.4%
~1%
~3%
~74.6%
นีงาตะ
3.2%
10.6%
4.9%
~1%
~2%
~2%
~23.7%
~1%
~1%
~74.3%
โทยามะ
~2%
41.3%
~1%
~2%
~1%
~1%
~48.3%
~0
~0
~51.7%
อิชิกาวะ
~2
36.2%
~1%
~1%
~0
~3%
~43.2%
~1%
~1%
~54.8%
ฟูกูอิ
~2%
41.4%
5.5%
3.9%
~1%
~3%
~56.8%
~1%
~0
~42.2%
ยามานาชิ
~1%
4.5%
6.2%
8.9%
~3%
~3%
~26.6%
~1%
~1%
~71.4%
นางาโนะ
3.5%
11.8%
7.6%
~2%
~3%
~2%
~29.9%
~1%
~1%
~68.1%
กิฟุ
~3%
23.2%
6.8%
~1%
~3%
~1%
~38.1%
~1%
~1%
~59.9%
ชิซูโอกะ
~1%
6.2%
9.4%
7.3%
3.6%
~4%
~31.5%
~1%
~1%
~66.5%
ไอชิ
~3%
16.7%
8.5%
~1%
~3%
~2%
~34.2%
~2%
~2%
~61.8%
มิเอะ
~3%
22.9%
4.2%
~1%
~2%
~2%
~35.1%
~1%
~1%
~62.9%
ชิงะ
3%
26.7%
3.2%
~2%
~3%
~0
~37.9%
~0
~1%
~61.1%
เกียวโต
~3%
17.5%
3.4%
~2%
~3%
~3%
~31.9%
~2%
~2%
~66.1%
โอซากะ
5.9%
15.6%
~3%
3%
5.2%
~1%
~33.7%
~1%
~1%
~64.3%
เฮียวโงะ
8.6%
12.2%
3.1%
~3%
3.1%
~3%
~33%
~2%
~2%
~63%
นาระ
4.2%
17.3%
~1%
~3%
~3%
~2%
~30.5%
~0
~1%
~68.5%
วากายามะ
9.6%
13.5%
~3%
~1%
3.5%
~2%
~32.6%
~0
~0
~67.4%
ทตโตะริ
~3%
10.4%
8.8%
4%
~2%
~3%
~31.2%
~3%
~1%
~64.8%
ชิมาเนะ
~4%
18.4%
6.5%
~2%
~1%
~3%
~30.9%
~2%
~1%
~66.1%
โอกายามะ
16.6%
5.1%
3%
5.9%
~3%
0
~33.6%
~2%
~1%
~63.4%
ฮิโรชิมะ
4.4%
35.3%
3.6%
~2%
4.9%
~1%
~51.2%
~2%
~2%
~44.8%
ยามางูจิ
~3%
21.9%
3.8%
~2%
3.8%
~1%
~35.5%
~1%
~1%
~62.5%
โทกูชิมะ
19.8%
6.7%
~0
~1%
3%
~1%
~31.5%
~1%
~1%
~66.5%
คางาวะ
14%
18%
~1%
~2%
~3%
~1%
~39%
~0
~1%
~60%
เอฮิเมะ
9.3%
6.7%
5.3%
~2%
~3%
~1%
~27.3%
~1%
~2%
~69.7%
โคจิ
6.3%
6.3%
~0
~1%
~3%
~1%
~17.6%
5.5%
~0
~76.9%
ฟูกูโอกะ
~2%
24.1%
3.3%
3%
3.3%
~2%
~37.7%
~1%
~2%
~59.3%
ซางะ
~4%
21.9%
6.1%
~3%
~2%
~3%
~40%
~0
~0
~60%
นางาซากิ
4.9%
19.5%
3.6%
5.1%
~3%
~3%
~39.1%
~2%
5.1%
~53.8%
คูมาโมโตะ
~2%
28.4%
~3%
~2%
~2%
~1%
~38.4%
~0
~1%
~61.6%
โออิตะ
~3%
20.7%
4.7%
~3%
~3%
~1%
~35.4%
~2%
~1%
~61.6%
มิยาซากิ
~3%
18.2%
~3%
~3%
~3%
3.3%
~33.5%
3.8%
~1%
~61.7%
คาโงชิมะ
~2%
29.8%
~1%
~2%
~3%
6%
~43.8%
~3%
~0
~53.2%
โอกินาวะ
~0
~0
~0
~0
3.6%
~0
~3,6%
~0
~3
~93.4%
ญี่ปุ่น
4%
12.9%
4.1%
~3%
3%
~2.5%
~29.5%
~1%
~2%
~67.5%
หมายเหตุ
อ้างอิง
↑ Japan - Country . CIA , Government of the United States.
↑ "Population Estimates Monthly Report - December 1, 2020 (Final estimates)" .
↑ CIA World Factbook:[ 1]
ชินโต: 70.5% พุทธ: 67.2% คริสต์: 1.5% อื่น ๆ: 5.9%
Percentages calculated using the official total population figure of 126,088,000 as of the end of 2020.[ 2]
↑ "ISSP" (PDF) . NHK . 2018.
↑ Reischauer, Edwin O. ; Jansen, Marius B. (1988). The Japanese today: change and continuity (2nd ed.). Belknap Press of Harvard University Press. p. 215 . ISBN 978-0-674-47184-9 .
↑ 6.0 6.1 Engler, Price. 2005. p. 95
↑ 7.0 7.1 Williams, 2004. pp. 4-5
↑
LeFebvre, J. (2015). "Christian wedding ceremonies: 'Nonreligiousness' in contemporary Japan" . Japanese Journal of Religious Studies , 42(2), 185-203
↑ Williams, 2004. p. 4
↑ Williams, George (2004). Shinto . Religions of the World. Philadelphia: Infobase Publishing (ตีพิมพ์ 2009). p. 6. ISBN 9781438106465 . สืบค้นเมื่อ 12 May 2019 . Shinto is an action-centered religion (one based on actions) and not a confessional religion (one that requires a set of beliefs or a profession of faith).
↑ John Nelson. A Year in the Life of a Shinto Shrine . 1996. pp. 7–8
↑ 12.0 12.1 12.2 12.3 Richard Pilgrim, Robert Ellwood (1985). Japanese Religion (1st ed.). Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall Inc. pp. 18 –19. ISBN 978-0-13-509282-8 .
↑ 13.0 13.1 Breen, Teeuwen. 2010. p. 1
↑ 14.0 14.1 Stuart D. B. Picken, 1994. p. xxi
↑ 15.0 15.1 Sokyo, Ono (1962). Shinto: The Kami Way (1st ed.). Rutland, VT : Charles E Tuttle Co. p. 2. ISBN 978-0-8048-1960-2 . OCLC 40672426 .
↑ 16.0 16.1 Stuart D. B. Picken, 1994. p. xxii
↑ อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref>
ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ Bestor, Yamagata. 2011. p. 65
↑ 18.0 18.1 18.2 18.3 Brown, 1993. p. 455
↑ 19.0 19.1 19.2 Brown, 1993. p. 456
↑ 20.0 20.1 Brown, 1993. p. 454
↑ Brown, 1993. p. 453
↑ Agency for Cultural Affairs (2019). 宗教年鑑 令和元年版 [Religious Yearbook 2019 ] (PDF) (ภาษาญี่ปุ่น). p. 35.
↑ Agency for Cultural Affairs (2002). 宗教年鑑 平成13年版 [Religious Yearbook 2001 ] (PDF) (ภาษาญี่ปุ่น). Agency for Cultural Affairs. p. 31. ISBN 978-432406748-2 .
↑ Iwai, Noriko (11 October 2017). Measuring religion in Japan: ISM, NHK and JGSS (PDF) (Report). JGSS Research Center.
↑ 25.0 25.1 Dentsu Communication Institute, Japan Research Center: Sixty Countries' Values Databook (世界60カ国価値観データブック).
↑ 26.0 26.1 "2008 NHK survey of religion in Japan — 宗教的なもの にひかれる日本人〜ISSP国際比較調査(宗教)から〜" (PDF) . NHK Culture Research Institute.
↑ Mariko Kato (February 24, 2009). "Christianity's long history in the margins" . The Japan Times . The Christian community itself counts only those who have been baptized and are currently regular churchgoers — some 1 million people, or less than 1 percent of the population, according to Nobuhisa Yamakita, moderator of the United Church of Christ in Japan
↑ "Christians use English to reach Japanese youth" . Mission Network News . 3 September 2007. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 11 June 2010. The population of Japan is less than one-percent Christian
↑ Heide Fehrenbach, Uta G. Poiger (2000). Transactions, transgressions, transformations: American culture in Western Europe and Japan . Berghahn Books. p. 62. ISBN 978-1-57181-108-0 . ... followers of the Christian faith constitute only about a half percent of the Japanese population
↑ 1984 NHK survey of religion in Japan. Results recorded in: Bestor, Yamagata, 2011, p. 66
↑ 31.0 31.1 Religion in Japan by prefecture, 1996
สารานุกรม
LeFebvre, J. (2015). Christian Wedding Ceremonies: “Nonreligiousness” in Contemporary Japan. Japanese Journal of Religious Studies, 42(2), 185–203. http://nirc.nanzan-u.ac.jp/nfile/4454
LeFebvre, J. (2021). The Oppressor's Dilemma: How Japanese State Policy toward Religion Paved the Way for Christian Weddings. Journal of Religion in Japan. https://brill.com/view/journals/jrj/aop/article-1163-22118349-20210001/article-1163-22118349-20210001.xml
Earhart, H. Byron . Japanese Religion: Unity and Diversity , in The Religious Life of Man Series . Second ed. Encino, Calif.: Dickenson Publishing Co., 1974. ISBN 0-8221-0123-8
Inoue, Nobutaka et al. Shinto, a Short History (London: Routledge Curzon, 2003) online เก็บถาวร 2020-10-23 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
Matsunaga, Daigan; Matsunaga, Alicia (1996), Foundation of Japanese Buddhism, Vol. 1: The Aristocratic Age , Los Angeles; Tokyo: Buddhist Books International. ISBN 0-914910-26-4
Matsunaga, Daigan, Matsunaga, Alicia (1996), Foundation of Japanese Buddhism, Vol. 2: The Mass Movement (Kamakura and Muromachi Periods), Los Angeles; Tokyo: Buddhist Books International. ISBN 0-914910-28-0
Picken, Stuart D. B. (1994). Essentials of Shinto an Analytical Guide to Principal Teachings . Westport, Conn.: Greenwood Press. ISBN 9780313369797 .
Reader, Ian (1991). Religion in Contemporary Japan, Honolulu: University of Hawaii Press
Matsunami, Kodo (2004). "A guide to Japanese Buddhism" (PDF) . Tokyo: Japan Buddhist Federation. เก็บ (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 2013-02-02. สืบค้นเมื่อ 15 May 2021 .
Shimazono, Susumu (2004): From Salvation to Spirituality: Popular Religious Movements in Modern Japan. Trans Pacific Press
Sims, Barbara (1989). Traces That Remain: A Pictorial History of the Early Days of the Bahá'í Faith Among the Japanese . Osaka, Japan: Japan Bahá'í Publishing Trust.
Staemmler, Birgit, Dehn, Ulrich (ed.): Establishing the Revolutionary: An Introduction to New Religions in Japan. LIT, Münster, 2011. ISBN 978-3-643-90152-1
Victoria Bestor, Theodore C. Bestor, Akiko Yamagata. Routledge Handbook of Japanese Culture and Society . Routledge, 2011. ASIN B004XYN3E4, ISBN 0415436494
John Breen, Mark Teeuwen. Shinto in History . Curzon Press, Richmond, Surrey, England, 2000. ISBN 0700711708
Steven Engler, Gregory P. Grieve. Historicizing "Tradition" in the Study of Religion . Walter de Gruyter, Inc., 2005. ISBN 3110188759 . pp. 92–108
George Williams, Ann Marie B. Bhar, Martin E. Marty. Shinto . Religions of the World. Chelsea House, 2004. ISBN 0791080978
John Breen, Mark Teeuwen. A New History of Shinto . Blackwell, 2010. ISBN 1405155167
Earhart H. Religion in Japan: Unity and Diversity . Cengage Learning, 2013. ISBN 1133934811
Delmer Brown, John Whitney Hall. The Cambridge History of Japan , Volume 1. Cambridge University Press, 1993. ISBN 0521223520
Ikuo Higashibaba. Christianity in Early Modern Japan: Kirishitan Belief and Practice . Brill Academic Publishing, 2002. ISBN 9004122907
Craig, Edward (1998), Routledge Encyclopedia of Philosophy, Volume 7 , Taylor & Francis, ISBN 978-0-415-07310-3
แหล่งข้อมูลอื่น
International Religious Freedom Report 2015: Japan , most recent International Religious Freedom Report by the United States Department of State 's Bureau of Democracy, Human Rights, and Labor
Fitzgerald, Tim (2003-07-10). "Religion and the Secular in Japan: Problems in History, Social Anthropology and the Study of Religion" . Electronic Journal of Contemporary Japanese Studies .
Kavanagh, Christopher M. and Jong, Jonathan (2020). Is Japan Religious? 14(1), DOI 10.1558/jsrnc.39187, pp. 152–180, https://journals.equinoxpub.com/OLDJSRNC/article/view/39187
LeFebvre, J. (2015). Christian wedding ceremonies: “Nonreligiousness” in contemporary Japan. Japanese Journal of Religious Studies, 42(2), 185–203. http://nirc.nanzan-u.ac.jp/nfile/4454
LeFebvre, J. (2021). The Oppressor's Dilemma: How Japanese State Policy toward Religion Paved the Way for Christian Weddings. Journal of Religion in Japan. https://brill.com/view/journals/jrj/aop/article-1163-22118349-20210001/article-1163-22118349-20210001.xml