เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 รอบแบ่งกลุ่ม

รอบแบ่งกลุ่ม ของการแข่งขันเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020 จะลงเล่นตั้งแต่วันที่ 10 กุมภาพันธ์ ถึง 6 พฤษภาคม 2563.[1] มีทีมที่เข้าร่วมการแข่งขันทั้งสิ้น 32 ทีมในรอบแบ่งกลุ่มเพื่อที่จะค้นหา 16 ทีมในการแข่งขัน รอบแพ้คัดออก ของ เอเอฟซีแชมเปียนส์ลีก 2020.[2]

การแข่งขันถูกระงับเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19 ก่อนแมตช์เดย์ที่ 3 เมื่อวันที่ 4 มีนาคม ค.ศ. 2020.[3] เมื่อวันที่ 9 กรกฎาคม ค.ศ. 2020, เอเอฟซีได้ประกาศว่าจะเริ่มต้นใหม่ในวันที่ 14 กันยายน ค.ศ. 2020.[4] แมตช์ทั้งหมดหลังจากรีสตาร์ตกลับมาลงเล่นใน ประเทศกาตาร์.

การจับสลาก

การจับสลากสำหรับรอบแบ่งกลุ่มจะจัดขึ้นในวันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2562, 16:30 MYT (UTC+8),ที่ เอเอฟซี เฮาส์ ใน กัวลาลัมเปอร์, ประเทศมาเลเซีย.[5] 32 ทีมได้ถูกจับสลากอยู่ในแปดกลุ่มจากสี่ทีม: แต่ละสี่กลุ่มในโซนตะวันตก (กลุ่ม เอ–ดี) และโซนตะวันออก (กลุ่ม อี–เอช). ทีมที่มาจากสมาคมเดียวกันจะไม่สามารถจับสลากอยู่ในกลุ่มเดียวกันได้.

โซน กลุ่ม ทีม
โซนตะวันตก เอ–ดี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชาร์จาห์ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชะบาบอัลอะฮ์ลี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วะห์ดา สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลอัยน์
(ผู้ชนะของ เพลย์ออฟ โซนตะวันตก 1)
ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัล-นัสเซอร์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัล-ตาอาวูน ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี
(ผู้ชนะของ เพลย์ออฟ โซนตะวันตก 2)
ประเทศกาตาร์ อัล-ซัดด์ ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล ประเทศอิหร่าน เอสเตกลาล
(ผู้ชนะของ เพลย์ออฟ โซนตะวันตก 4)
ประเทศอิหร่าน ชาห์ร โคโดร
(ผู้ชนะของ เพลย์ออฟ โซนตะวันตก 3)
ประเทศอิหร่าน เพร์สโพลีส ประเทศอิหร่าน เซปาฮาน ประเทศอุซเบกิสถาน ปัคห์ตากอร์ ประเทศอิรัก อัล-ชอร์ตา
โซนตะวันออก อี–เอช ประเทศเกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ ประเทศเกาหลีใต้ ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ ประเทศเกาหลีใต้ อุลซันฮุนได ประเทศเกาหลีใต้ เอฟซีโซล
(ผู้ชนะของ เพลย์ออฟ โซนตะวันออก 1)
ประเทศจีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ ประเทศจีน เซี่ยงไฮ้ เสิ่นหัว ประเทศจีน เป่ย์จิง เอฟซี ประเทศจีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี
(ผู้ชนะของ เพลย์ออฟ โซนตะวันออก 2)
ประเทศญี่ปุ่น โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส ประเทศญี่ปุ่น วิสเซล โคเบะ[note 1] ประเทศญี่ปุ่น เอฟซี โตเกียว
(ผู้ชนะของ เพลย์ออฟ โซนตะวันออก 3)
ประเทศไทย เชียงราย ยูไนเต็ด
ประเทศออสเตรเลีย เพิร์ทกลอรี ประเทศออสเตรเลีย ซิดนีย์ เอฟซี ประเทศออสเตรเลีย เมลเบิร์นวิกตอรี
(ผู้ชนะของ เพลย์ออฟ โซนตะวันออก 4)
ประเทศมาเลเซีย โจโฮร์ดารุลตักซิม

รูปแบบการแข่งขัน

ในรอบแบ่งกลุ่ม, แต่ละกลุ่มจะลงเล่นในรูปแบบเหย้าและเยือนแบบพบกันหมด. ชนะเลิศและรองชนะเลิศของแต่ละกลุ่มจะได้ผ่านเข้าสู่ รอบ 16 ทีมสุดท้าย ของ รอบแพ้คัดออก.

ตารางการแข่งขัน

ตารางการแข่งขันของแต่ละนัดมีดังต่อไปนี้.[1][6]

รอบ วันแข่งขันเดิม แต่ละนัดตามโปรแกรมเดิม
นัดที่ 1 10–12 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020 (12 แมตช์ที่ลงเล่น, 4 เลื่อนการแข่งขัน) ทีม 1 พบกับ ทีม 4, ทีม 3 พบกับ ทีม 2
นัดที่ 2 17–19 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020 (13 แมตช์ที่ลงเล่น, 3 เลื่อนการแข่งขัน) ทีม 4 พบกับ ทีม 3, ทีม 2 พบกับ ทีม 1
นัดที่ 3 2–4 มีนาคม ค.ศ. 2020 (2 แมตช์ที่ลงเล่น, 14 เลื่อนการแข่งขัน) ทีม 4 พบกับ ทีม 2, ทีม 1 พบกับ ทีม 3
นัดที่ 4 6–8 เมษายน ค.ศ. 2020 (ทั้งหมด 16 แมตช์ที่เลื่อนการแข่งขัน) ทีม 2 พบกับ ทีม 4, ทีม 3 พบกับ ทีม 1
นัดที่ 5 20–22 เมษายน ค.ศ. 2020 (ทั้งหมด 16 แมตช์ที่เลื่อนการแข่งขัน) ทีม 4 พบกับ ทีม 1, ทีม 2 พบกับ ทีม 3
นัดที่ 6 4–6 พฤษภาคม ค.ศ. 2020 (ทั้งหมด 16 แมตช์ที่เลื่อนการแข่งขัน) ทีม 1 พบกับ ทีม 2, ทีม 3 พบกับ ทีม 4

ผลกระทบของการแพร่ระบาด โควิด-19

เนื่องจาก การระบาดทั่วโควิด-19 ในทวีปเอเชีย, รัฐบาลกลางออสเตรเลีย สั่งห้ามชาวต่างชาติที่เดินทางมาจากประเทศจีน, และ สหพันธ์ฟุตบอลออสเตรเลีย บอกกับ เอเอฟซี ไปว่าออสเตรเลียไม่สามารถจัดการแข่งขันในการเป็นเจ้าภาพพบกับทีมจากจีน.[7] เอเอฟซี ได้จัดการประชุมฉุกเฉินเมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2020 เพื่อกำหนดแผนสำหรับทัวร์นาเมนต์, รวมไปถึงแต่ไม่มีการจำกัดเพื่อปรับเปลี่ยนตารางการแข่งขันของแต่ละนัดในโซนตะวันออก.[8] หลังจากการประชุม, เอเอฟซีได้ตัดสินใจเลื่อนแมตช์การแข่งขันที่เกี่ยวข้องกับสโมสรจีนจากสามแมตช์เดย์แรก ยกเว้น เชียงราย ยูไนเต็ด พบกับ เป่ย์จิง เอฟซี:[9][10]

  • กลุ่ม อี: เอฟซี โซล พบ เป๋ย์จิง เอฟซี (จากเดิมวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ไปเป็นวันที่ 28 เมษายน), เมลเบิร์นวิกตอรี พบ เป่ย์จิง เอฟซี (จากเดิมวันที่ 3 มีนาคม ไปเป็นวันที่ 28 พฤษภาคม)
  • กลุ่ม เอฟ: เพิร์ทกลอรี พบ เซี่ยงไฮ้ เสินหัว (จากเดิมวันที่ 11 กุมภาพันธ์ ไปเป็นวันที่ 28 เมษายน), อุลซัน ฮุนได พบ เซียงไฮ้ เสินหัว (จากเดิมวันที่ 18 กุมภาพันธ์ ไปเป็นวันที่ 19 พฤษภาคม), เอฟซี โตเกียว พบ เซียงไฮ้ เสินหัว (จากเดิมวันที่ 4 มีนาคม ไปเป็นวันที่ 27 พฤษภาคม)
  • กลุ่ม จี: ซูวอน ซัมซุง บลูวิงส์ พบ กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ (จากเดิมวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ไปเป็นวันที่ 29 เมษายน), โจโฮร์ดารุลตักซิม พบ กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ (จากเดิมวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ไปเป็นวันที่ 20 พฤษภาคม), วิสเซล โคเบะ พบ กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ (จากเดิมวันที่ 3 มีนาคม ไปเป็นวันที่ 26 พฤษภาคม)
  • กลุ่ม เอช: ซิดนีย์ เอฟซี พบ เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี (จากเดิมวันที่ 12 กุมภาพันธ์ ไปเป็นวันที่ 29 เมษายน), ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ พบ เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี (จากเดิมวันที่ 19 กุมภาพันธ์ ไปเป็นวันที่ 20 พฤษภาคม), โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส พบ เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี (จากเดิมวันที่ 4 มีนาคม ไปเป็นวันที่ 27 พฤษภาคม)

แต่ละนัดด้านล่างนี้เป็นการเลื่อนแข่งขันออกไปเป็นวันต่อมาระหว่างล่าช้าเดือนกุมภาพันธ์และเร็วสุดเดือนมีนาคม, ก่อนที่จะมีคำประกาศของเอเอฟซีเพื่อเลื่อนแมตช์ทั้งหมด:[11][12]

  • กลุ่ม เอ: Al-Ahli v Al-Shorta และ Al-Wahda v Esteghlal (2 มีนาคม)
  • กลุ่ม บี: Al-Hilal v Pakhtakor และ Shabab Al-Ahli v Shahr Khodro (3 มีนาคม)
  • กลุ่ม ซี: Persepolis v Al-Taawoun และ Al-Duhail v Sharjah (2 มีนาคม)
  • กลุ่ม ดี: Al-Ain v Al-Sadd และ Sepahan v Al-Nassr (3 มีนาคม), Al-Nassr v Sepahan (6 เมษายน)
  • กลุ่ม อี: FC Seoul v Chiangrai United (3 มีนาคม)
  • กลุ่ม เอฟ: Perth Glory v Ulsan Hyundai (4 มีนาคม, ต่อมาเลื่อนไปเป็นวันที่ 18 มีนาคม)
นัดที่ โซนตะวันตก โซนตะวันออก
นัดที่ 1 18–19 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020 (3 นัด)
นัดที่ 2 21–22 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020 (4 นัด)
นัดที่ 3 14–15 กันยายน ค.ศ. 2020 24–25 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020
นัดที่ 4 17–18 กันยายน ค.ศ. 2020 27–28 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020 (6 นัด)
นัดที่ 5 20–21 กันยายน ค.ศ. 2020 30 พฤศจิกายน – 1 ธันวาคม ค.ศ. 2020
นัดที่ 6 23–24 กันยายน ค.ศ. 2020 3–4 ธันวาคม ค.ศ. 2020

สนามแข่งขันเป็นกลางหลังจากรีสตาร์ต

เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม ค.ศ. 2020, เอเอฟซีได้ประกาศออกมาว่า กาตาร์ จะรับหน้าที่เป็นเจ้าภาพแต่ละแมตช์ในโซนตะวันตกทั้งหมดหลังจากรีสตาร์ท.[13] เมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 2020, เอเอฟซีได้ประกาศออกมาว่า มาเลเซีย จะรับหน้าที่เป็นเจ้าภาพแต่ละแมตช์ในโซนตะวันออกของกลุ่ม จี และ เอช หลังจากรีสตาร์ท.[14] อย่างไรก็ตาม, เมื่อวันที่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 2020, เอเอฟซีได้ประกาศออกมาว่า เป็นไปตามข้อตกลงกับ สมาคมฟุตบอลกาตาร์, แต่ละนัดโซนตะวันออกทั้งหมดหลังจากรีสตาร์ทจะลงเล่นในกาตาร์.[15]

สนามแข่งขันเป็นกลางด้านล่างนี้ในกาตาร์ที่ถูกนำมาใช้:[16]

กลุ่ม

กลุ่ม เอ

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศซาอุดีอาระเบีย AHL ประเทศอิหร่าน EST ประเทศอิรัก SHO สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ WAH
1 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี 4 2 0 2 4 6 −2 6 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 2–1 1–0 20 ก.ย.
2 ประเทศอิหร่าน เอสเตกลาล 4 1 2 1 6 4 +2 5 3–0 1–1 17 ก.ย.
3 ประเทศอิรัก อัล-ชอร์ตา 4 1 2 1 4 4 0 5 2–1 1–1 0–1
4 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัล-วะห์ดา 0 0 0 0 0 0 0 0 ถอนตัว[a] 1–1 14 ก.ย. 23 ก.ย.
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: Tiebreakers
Notes:
  1. อัล-วะห์ดา ไม่สามารถเดินทางไปกาตาร์ได้ที่จะเล่นสี่นัดสุดท้ายของรอบแบ่งกลุ่มเนื่องจากสมาชิกในทีมหลายคนทดสอบผลเชิงบวกสำหรับ โควิด-19.[17] พวกเขาได้รับการพิจารณาให้ถอนตัวจากการแข่งขัน, และแมตช์ทั้งหมดที่ผ่านมาที่ลงเล่นโดย อัล-วะห์ดา จะได้รับการพิจารณา "โมฆะ" และจะไมได้รับการพิจารณาในการกำหนดตารางคะแนนกลุ่มรอบสุดท้าย.[18]
อัล-ชอร์ตา ประเทศอิรัก1–1ประเทศอิหร่าน เอสเตกลาล
ฟาเอซ ประตู 48' (ลูกโทษ) รายงานสด
รายงานสถิติ
คัดฮิม ประตู 24' (เข้าประตูตัวเอง)
ผู้ชม: 6,750 คน
ผู้ตัดสิน: อะห์เหม็ด อัล-อะลี (จอร์แดน)



อัล-ชอร์ตา ประเทศอิรัก2–1ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัลอะฮ์ลี
นาทิค ประตู 14'
ฟายยัดห์ ประตู 65'
รายงานสด
รายงานสถิติ
อัล-มัจฮัด ประตู 56'
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: เชอร์ซอด คาซิมอฟ (อุซเบกิสถาน)


กลุ่ม บี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศอุซเบกิสถาน PAK สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ SAH ประเทศอิหร่าน SHK ประเทศซาอุดีอาระเบีย HIL
1 ประเทศอุซเบกิสถาน ปัคห์ตากอร์ 4 3 1 0 6 1 +5 10 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 2–1 3–0 0–0
2 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชะบาบอัลอะฮ์ลี 4 2 1 1 3 2 +1 7 0–0 1–0 1–2
3 ประเทศอิหร่าน ชาห์ร โคโดร 4 0 0 4 0 6 −6 0 0–1 0–1 0–0
4 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล 0 0 0 0 0 0 0 0 ถอนทีม[a] 2–1 23 ก.ย. 2–0
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: Tiebreakers
Notes:
  1. อัล-ฮิลาล ล้มเหลวในการเรียกชื่อ 13 ผู้เล่นที่ต้องการ และไม่สามารถที่จะลงเล่นนัดสุดท้ายของรอบแบ่งกลุ่มพบกับ ชะบาบอัลอะฮ์ลี เนื่องจากพวกเขาเหลือผู้เล่นเพียงแค่ 11 คนเท่านั้นกับสมาชิกในทีมที่เหลือทดสอบผลเชิงบวกสำหรับ โควิด-19. พวกเขาได้รับการพิจารณาให้ถอนตัวจากการแข่งขัน, และแมตช์ทั้งหมดที่ผ่านมาที่ลงเล่นโดย อัล-ฮิลาล จะได้รับการพิจารณา "โมฆะ" และจะไมได้รับการพิจารณาในการกำหนดตารางคะแนนกลุ่มรอบสุดท้าย.[26]

ชะบาบอัลอะฮ์ลี สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์โมฆะ
(1–2)
ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล
จาเบอร์ ประตู 24' รายงานสด
รายงานสถิติ
โกมิส ประตู 36'72'
ผู้ชม: 6,240 คน
ผู้ตัดสิน: ฮิโระยุกิ คิมุระ (ญี่ปุ่น)


ชาห์ร โคโดร ประเทศอิหร่าน0–1สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชะบาบอัลอะฮ์ลี
รายงานสด
รายงานสถิติ
คอนเด ประตู 83'
ผู้ชม: 0
ผู้ตัดสิน: ฮันนา ฮัตตับ (ซีเรีย)

ชาห์ร โคโดร ประเทศอิหร่านโมฆะ
(0–0)
ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัล-ฮิลาล
รายงานสด
รายงานสถิติ
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: อะห์เหม็ด อัล-อะลี (จอร์แดน)

กลุ่ม ซี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศอิหร่าน PRS ประเทศซาอุดีอาระเบีย TAW ประเทศกาตาร์ DUH สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ SHJ
1 ประเทศอิหร่าน เพร์สโพลีส 6 3 1 2 8 5 +3 10 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–0 0–1 4–0
2 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัล-ตาอาวูน 6 3 0 3 4 8 −4 9[a] 0–1 2–0 0–6
3 ประเทศกาตาร์ อัล-ดูฮาอิล 6 3 0 3 7 8 −1 9[a] 2–0 0–1 2–1
4 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชาร์จาห์ 6 2 1 3 13 11 +2 7 2–2 0–1 4–2
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: Tiebreakers
Notes:
  1. 1.0 1.1 คะแนน เฮด-ทู-เฮด: อัล-ตาอาวูน 6, อัล-ดูฮาอิล 0.




อัล-ตาอาวูน ประเทศซาอุดีอาระเบีย0–6สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ชาร์จาห์
รายงานสด
รายงานสถิติ
ระชิด ประตู 45+1'
เวลลิตง ประตู 49'57'61'
อับดุลบาซิต ประตู 54'
ไคอู ประตู 68'
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: คิม แด-ย็อง (เกาหลีใต้)

กลุ่ม ดี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศซาอุดีอาระเบีย NAS ประเทศกาตาร์ SAD ประเทศอิหร่าน SEP สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ AIN
1 ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัล-นัสเซอร์ 6 3 2 1 9 5 +4 11 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 2–2 2–0 0–1
2 ประเทศกาตาร์ อัล-ซัดด์ 6 2 3 1 14 8 +6 9 1–1 3–0 4–0
3 ประเทศอิหร่าน เซปาฮาน 6 2 1 3 6 8 −2 7 0–2 2–1 0–0
4 สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลอัยน์ 6 1 2 3 5 13 −8 5 1–2 3–3 0–4
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: Tiebreakers

อัล-ซัดด์ ประเทศกาตาร์3–0ประเทศอิหร่าน เซปาฮาน
อะฟิฟ ประตู 51'
อัล-ฮายดอส ประตู 72'78'
รายงานสด
รายงานสถิติ
ผู้ชม: 5,843 คน
ผู้ตัดสิน: อาซิซ อาซิมอฟ (อุซเบกิสถาน)


อัล-นัสเซอร์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย2–0ประเทศอิหร่าน เซปาฮาน
มาดู ประตู 32'
ฮัมดัลลาห์ ประตู 41'
รายงานสด
รายงานสถิติ
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: อิลกิซ ตันตาเชฟ (อุซเบกิสถาน)

อัล-ซัดด์ ประเทศกาตาร์1–1ประเทศซาอุดีอาระเบีย อัล-นัสเซอร์
บูเน็ดจาห์ ประตู 87' รายงานสด
รายงานสถิติ
อัล-กันนัม ประตู 22'
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: มาซุด ตูฟาเยลิเอห์ (ซีเรีย)
เซปาฮาน ประเทศอิหร่าน0–0สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลอัยน์
รายงานสด
รายงานสถิติ
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: อะลี ชาบาน (คูเวต)

อัล-นัสเซอร์ ประเทศซาอุดีอาระเบีย0–1สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ อัลอัยน์
รายงานสด
รายงานสถิติ
ลาบา ประตู 19'
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: ฮุสเซน อาโบ เยเฮีย (เลบานอน)

กลุ่ม อี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศจีน BEI ประเทศออสเตรเลีย MVC ประเทศเกาหลีใต้ SEO ประเทศไทย CHI
1 ประเทศจีน เป่ย์จิง เอฟซี 6 5 1 0 12 4 +8 16 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 3–1 3–1 1–1
2 ประเทศออสเตรเลีย เมลเบิร์นวิกตอรี 6 2 1 3 6 9 −3 7 0–2 2–1 1–0
3 ประเทศเกาหลีใต้ เอฟซีโซล 6 2 0 4 10 9 +1 6 1–2 1–0 5–0
4 ประเทศไทย เชียงราย ยูไนเต็ด 6 1 2 3 5 11 −6 5 0–1 2–2 2–1
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: Tiebreakers




เชียงราย ยูไนเต็ด ประเทศไทย2–1ประเทศเกาหลีใต้ เอฟซีโซล
บิล ประตู 40'89' รายงานสด
รายงานสถิติ
พัก จู-ย็อง ประตู 59'
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: อาลี ชาบาน (คูเวต)


เป่ย์จิง เอฟซี ประเทศจีน1–1ประเทศไทย เชียงราย ยูไนเต็ด
อาลัน ประตู 76' รายงานสด
รายงานสถิติ
เอกนิษฐ์ ประตู 55'
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: ฮุสเซน อาโบ เยเฮีย (เลบานอน)

กลุ่ม เอฟ

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศเกาหลีใต้ ULS ประเทศญี่ปุ่น TOK ประเทศจีน SSH ประเทศออสเตรเลีย PRG
1 ประเทศเกาหลีใต้ อุลซันฮุนได 6 5 1 0 14 5 +9 16 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–1 3–1 2–0
2 ประเทศญี่ปุ่น เอฟซี โตเกียว 6 3 1 2 6 5 +1 10 1–2 0–1 1–0
3 ประเทศจีน เซี่ยงไฮ้ เสิ่นหัว 6 2 1 3 9 13 −4 7 1–4 1–2 3–3
4 ประเทศออสเตรเลีย เพิร์ทกลอรี 6 0 1 5 5 11 −6 1 1–2 0–1 1–2
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: Tiebreakers

เอฟซี โตเกียว ประเทศญี่ปุ่น1–0ประเทศออสเตรเลีย เพิร์ทกลอรี
ลีอังดรู ประตู 82' รายงานสด
รายงานสถิติ
ผู้ชม: 7,755 คน
ผู้ตัดสิน: ยาคูบ อับดุล บากี (โอมาน)






เพิร์ทกลอรี ประเทศออสเตรเลีย0–1ประเทศญี่ปุ่น เอฟซี โตเกียว
รายงานสด
รายงานสถิติ
อาดาอิลตง ประตู 8'
ผู้ชม: 0 คน
ผู้ตัดสิน: ฮันนา ฮัตตับ (ซีเรีย)

กลุ่ม จี

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศญี่ปุ่น VIS ประเทศเกาหลีใต้ SUW ประเทศจีน GZE ประเทศมาเลเซีย JDT
1 ประเทศญี่ปุ่น วิสเซล โคเบะ 4 2 0 2 4 5 −1 6 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 0–2 0–2 5–1
2 ประเทศเกาหลีใต้ ซูว็อนซัมซุงบลูวิงส์ 4 1 2 1 3 2 +1 5 0–1 0–0 25 พ.ย.
3 ประเทศจีน กว่างโจวเอเวอร์แกรนด์ 4 1 2 1 4 4 0 5 1–3 1–1 4 ธ.ค.
4 ประเทศมาเลเซีย โจโฮร์ดารุลตักซิม 0 0 0 0 0 0 0 0 ถอนทีม[a] 1 ธ.ค. 2–1 19 พ.ย.
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: Tiebreakers
Notes:
  1. โจโฮร์ดารุลตักซิม ไม่สามารถเดินทางไปกาตาร์เพื่อลงเล่นสี่นัดสุดท้ายของรอบแบ่งกลุ่มเนื่องจาก การระบาดทั่วของโควิด-19 ข้อจำกัดในการเดินทางหลังจากที่พวกเขาถูกปฏิเสธการอนุญาตเดินทางโดยรัฐบาลมาเลเซีย.[31] พวกเขาได้รับการพิจารณาให้ถอนตัวจากการแข่งขัน, และแมตช์การแข่งขันก่อนหน้านี้ลงเล่นโดยพวกเขาจะได้รับการพิจารณา "โมฆะ" และจะไม่ได้รับการพิจารณาในการพิจารณาตารางคะแนนกลุ่มสุดท้าย.[32]








กลุ่ม เอช

อันดับ ทีม เล่น ชนะ เสมอ แพ้ ได้ เสีย ต่าง คะแนน การผ่านเข้ารอบ ประเทศญี่ปุ่น YOK ประเทศจีน SSI ประเทศเกาหลีใต้ JEO ประเทศออสเตรเลีย SYD
1 ประเทศญี่ปุ่น โยโกฮามะ เอ็ฟ มารินอส 6 4 1 1 13 5 +8 13 รอบ 16 ทีมสุดท้าย 1–2 4–1 4–0
2 ประเทศจีน เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี 6 3 0 3 6 10 −4 9 0–1 0–2 0–4
3 ประเทศเกาหลีใต้ ช็อนบุกฮุนไดมอเตอส์ 6 2 1 3 8 10 −2 7 1–2 1–2 1–0
4 ประเทศออสเตรเลีย ซิดนีย์ เอฟซี 6 1 2 3 8 10 −2 5 1–1 1–2 2–2
แหล่งข้อมูล: เอเอฟซี
กฏการจัดอันดับ: Tiebreakers








หมายเหตุ

  1. สถานะของทีมสองจากรอบแบ่งกลุ่มที่มาจากญี่ปุ่นไม่เป็นที่รู้จัก ณ เวลาของการจับสลากรอบแบ่งกลุ่ม.
  2. 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7 2.8 ทาง สหพันธ์ฟุตบอลอิหร่าน ได้รับจดหมายจาก สมาพันธ์ฟุตบอลเอเชีย เมื่อวันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2563 ได้ประกาศว่าทีมจากอิหร่านจะไม่ได้รับอนุญาตให้เป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันแมตช์เหย้าในประเทศพวกเขาเนื่องจาก ช้อกังวลด้านความปลอดภัย.[19][20] สี่ทีมเอเอฟซีแชมเปียนส์ลีกที่มาจากอิหร่านได้ประกาศไว้เมื่อวันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2563 นั้นว่าพวกเขาจะถอนตัวออกจากการแข่งขันหากการแบนไมได้ย้อนกลับ.[21][22] เอเอฟซีได้ประกาศไปเมื่อวันที่ 23 มกราคม พ.ศ. 2563 นั้นถึงแต่ละนัดใดๆ ในรอบแบ่งกลุ่มซึ่งทีมจากอิหร่านควรจะเป็นเจ้าภาพในนัดที่ 1, 2 และ 3 จะสลับกับส่วนของแมตช์เยือนเพื่อให้เวลาในการประเมินความกังวลด้านความปลอดภัยในประเทศอีกครั้ง.[23][24][25]
  3. 3.0 3.1 อัล-ชอร์ตา ลงเล่นแมตช์เหย้าของพวกเขาที่ ฟรันโซฮะริรีสเตเดียม, เออร์บิล, แทนที่สนามกีฬาทีมเหย้าประจำของพวกเขา สนามกีฬาอัล-ชะอับ, แบกแดด.
  4. 4.0 4.1 แต่ละนัดระหว่างทีมที่มาจากอิหร่านและซาอุดีอาระเบียจะลงเล่นในสนามเป็นกลางเนื่องจากการเสื่อมสภาพของ ความสัมพันธ์อิหร่าน–ซาอุดีอาระเบีย.
  5. 5.0 5.1 5.2 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ postponed
  6. 6.0 6.1 6.2 6.3 อ้างอิงผิดพลาด: ป้ายระบุ <ref> ไม่ถูกต้อง ไม่มีการกำหนดข้อความสำหรับอ้างอิงชื่อ West Region
  7. 7.00 7.01 7.02 7.03 7.04 7.05 7.06 7.07 7.08 7.09 7.10 7.11 7.12 7.13 7.14 เอเอฟซีได้ประกาศเมื่อวันที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2563 นั้นว่าแต่ละนัดในรอบแบ่งกลุ่มที่ทีมจากจีนถูกคาดคะเนต่อการเป็นเจ้าภาพในแมตช์เดย์ที่ 1, 2 และ 3 จะถูกเปลี่ยนกับความสอดคล้องกันกับแมตช์ทีมเยือนเนื่องจาก การระบาดของโคโรนาไวรัสสายพันธุ์ใหม่ในประเทศจีน.[27][28] ต่อมา, คำสั่งของแต่ละนัดระหว่าง เป่ย์จิง เอฟซี และ เมลเบิร์น วิกตอรี, กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ และ วิสเซล โคเบะ, และ เซี่ยงไฮ้ เอสไอพีจี และ โยะโกะฮะมะ เอฟ. มารีนอส, ได้ถูกสลับสับเปลี่ยนจากกำหนดการที่ถูกแก้ไข.[29]
  8. 8.0 8.1 เนื่องมาจาก การระบาดทั่วของไวรัสโคโรนาในประเทศเกาหลีใต้ พ.ศ. 2563, คำสั่งของแมตช์ระหว่าง อุลซันฮุนได และ เพิร์ทกลอรี ได้ถูกสลับเปลี่ยน.[30][11]

อ้างอิง

  1. 1.0 1.1 "AFC Competitions Calendar 2020". AFC. 6 December 2019. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2019-12-06. สืบค้นเมื่อ 2020-01-25.
  2. "2020 AFC Champions League Competition Regulations". AFC. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2019-10-31. สืบค้นเมื่อ 2020-01-25.
  3. "AFC extends postponement of all matches and competitions". Asian Football Confederation. 14 April 2020.
  4. "AFC reiterates commitment to complete 2020 competitions with new calendar". Asian Football Confederation. 9 July 2020.
  5. "ACL2020 draw sets stage for spectacular affair". AFC. 10 December 2019.
  6. "AFC Champions League 2020 Official Match Schedule". AFC.
  7. "Sydney, Perth unable to host AFC Champions League fixtures". Special Broadcasting Service. 2 February 2020.
  8. "Meeting on AFC Champions League Group Stage matches to be held". Asian Football Confederation. 2 February 2020.
  9. "Decisions of AFC Emergency Meeting in Kuala Lumpur". AFC. 4 February 2020.
  10. "ACL 2020 Schedule Emergency Meeting Revised Match Dates". AFC. 4 February 2020.
  11. 11.0 11.1 "AFC calls for emergency meetings with National and Club representatives". Asian Football Confederation. 27 February 2020.
  12. "AFC Competitions update". Asian Football Confederation. 9 March 2020.
  13. "Qatar to host 2020 AFC Champions League in the West region". Asian Football Confederation. 16 July 2020.
  14. "Malaysia to host AFC Champions League Groups G and H". Asian Football Confederation. 27 July 2020.
  15. "AFC Champions League (East) to be staged in Doha". Asian Football Confederation. 9 October 2020.
  16. "Stadiums to host AFC Champions League in Doha unveiled". The Peninsula. 7 August 2020.
  17. "Al Wahda unable to travel to AFC Champions League (West)". Asian Football Confederation. 10 September 2020.
  18. "AFC COVID-19 Sub Committee's decision on Al Wahda". Asian Football Confederation. 14 September 2020.
  19. "اطلاعیه روابط عمومی". Football Federation Islamic Republic of Iran. 17 January 2020. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-13. สืบค้นเมื่อ 2020-02-01.
  20. "Another blow to Iranian sport as AFC ban country from hosting Champions League football". Inside The Games. 17 January 2020.
  21. "Iranian football teams stand against AFC's decision". Tehran Times. 18 January 2020.
  22. "Iran: 'Clubs to quit AFC Champions League over home game ban'". BBC Sport. 18 January 2020.
  23. "AFC Statement". Asian Football Confederation. 23 January 2020.
  24. "Iran: Clubs back down on Asian champions League boycott". BBC Sport. 23 January 2020.
  25. "AFC Statement on AFC Champions League Group Stage matches". Asian Football Confederation. 29 January 2019.
  26. "Al Hilal - Update on AFC Champions League". Asian Football Confederation. 23 September 2020.
  27. "AFC Statement on AFC Champions League Group Stage matches". AFC. 29 January 2020.
  28. "亚足联正式确认亚冠主客对调 中超球队开局三连客" (ภาษาจีน). Sina Sports. 29 January 2020.
  29. "亚冠赛程再次调整:恒大国安上港各一场主客对调" (ภาษาจีน). Sina Sports. 16 February 2020.
  30. "Asian club football match in S. Korea moved to Australia due to coronavirus". Yonhap News Agency. 27 February 2020.
  31. "Johor Darul Ta'zim forced out of Asian Champions League after Malaysia refuses to lift travel restrictions". ESPN. 11 November 2020.
  32. "Latest update on AFC Champions League 2020". Asian Football Confederation. 13 November 2020.

แหล่งข้อมูลอื่น

 

Prefix: a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

Portal di Ensiklopedia Dunia