ชาห์มุขี (ปัญจาบ : شاہ مُکھی , อักษรคุรมุขี : ਸ਼ਾਹਮੁਖੀ , แปลตรงตัว 'จากพระโอษฐ์ของชาห์ ') เป็นอักษรเปอร์เซีย-อาหรับ ดัดแปลงที่มุสลิมชาวปัญจาบ (โดยหลักอยู่ในแคว้นปัญจาบ ) ใช้เขียนภาษาปัญจาบ [ 1] [ 2] [ 3] [ 4] โดยทั่วไปเขียนด้วยแบบอักษร แนสแทอ์ลีก [ 3] [ 4] ซึ่งภาษาอูรดู ก็ใช้แบบอักษรนี้ด้วย[ 5] อักษรเปอร์เซีย-อาหรับเป็นหนึ่งในสองอักษรที่ใช้เขียนภาษาปัญจาบ ส่วนอีกอักษรหนึ่งคืออักษรคุรมุขี ที่ชาวซิกข์ และฮินดู ในรัฐปัญจาบ ใช้[ 3] [ 6] [ 4]
อักษรชาห์มุขีเขียนจากขวาไปซ้าย ในขณะที่อักษรคุรมุขีเขียนจากซ้ายไปขวา[ 7] [ 8] [ 4]
อักษรชาห์มุขีใช้ครั้งแรกโดยกวีที่นับถือลัทธิศูฟี ในปัญจาบ [ 9] และกลายเป็ระบบการเขียนตามแบบแผนของมุสลิม ในแคว้นปัญจาบ ประเทศปากีสถาน หลังการขีดเส้นแบ่งอินเดีย ในขณะที่ชาวฮินดูและซิกข์ส่วนใหญ่ในรัฐปัญจาบ ประเทศอินเดีย ใช้อักษรคุรมุขีหรือเทวนาครี ในการเขียนภาษาปัญจาบ[ 6]
ชุดตัวอักษร
เครื่องหมายเสริมสัทอักษรสระ
ถึงแม้ว่าปกติจะไม่เขียนเครื่องหมายและกล่าวถึงเฉพาะโดยนัย[ 4] อักษรชาห์มุขีมีเครื่องหมายเสริมสัทอักษรจากภาษาอาหรับ เหมือนกันภาษาอูรดู[ 10] เพื่อแสดงสระสั้น[ 11]
เครื่องหมายเสริมสัทอักษรในอักษรชาห์มุขี
สัญลักษณ์
ชื่อ
การใช้งาน
สัทอักษรสากล
หมายเหตุ
ٰ
Khari Zabar
a
[ə]
ใช้ในคำยืมภาษาอาหรับ เช่น ‘عیسیٰ ’ (‘พระเยซู’)
َ
Zabar
a
[ə]
ً
Zabar Tanwīn
-an
[ən]
ใช้ในคำยืมภาษาอาหรับ เช่น ‘فوراً ’ (‘ทันที’)
ٓ
Maddah
ā
[ɑː]
ใช้เฉพาะ Alif Maddah (ا + ٓ = آ ) ไม่มีการเขียนแบบเดี่ยว
ِ
Zer
i
[ɪ]
เขียนใต้ตัวอักษร
ٍ
Zer Tanwīn
in
[ɪn]
แทบไม่พบในคำยืมภาษาอาหรับ เขียนใต้ตัวอักษร
ُ
Pesh
u
[u]
ٔ
Hamza
หลายแบบ
-
ใช้บนสระเพื่อระบุสระประสม ระหว่างสองคำ เช่น: ‘ئ ’, ‘ۓ ’, ‘ؤ ‘ และ أ ไม่มีการเขียนแบบเดี่ยว
ّ
Tashdīd
ซ้ำเสียง
[.]
ทำให้พยัญชนะมีสองตัว ด้วยการตั้งบนพยัญชนะนั้น - کّ = kk
พยัญชนะ
ลำดับ
ชื่อ
สัทอักษรสากล
รูปท้าย
รูปกลาง
รูปต้น
รูปเดี่ยว
อักษรคุรมุขี
1
الف
alif
/ɑː,äː, ʔ, ∅/
ـا
ـا
ا
ا
ਅ , ਆ (รูปกลาง)
2
بے
bē
/b/
ـب
ـبـ
بـ
ب
ਬ
3
پے
pē
/p/
ـپ
ـپـ
پـ
پ
ਪ
4
تے
tē
/t/
ـت
ـتـ
تـ
ت
ਤ
5
ٹے
ṭē
/ʈ/
ـٹ
ـٹـ
ٹـ
ٹ
ਟ
6
ثے
s̱ē
/s/
ـث
ـثـ
ثـ
ث
ਸ
7
جيم
jīma
/d͡ʒ/
ـج
ـجـ
جـ
ج
ਜ
8
چے
cē
/t͡ʃ/
ـچ
ـچـ
چـ
چ
ਚ
9
وڈّی حے
waḍḍi ḥē
/ɦ/
ـح
ـحـ
حـ
ح
ਹ
10
خے
k͟hē
/x/
ـخ
ـخـ
خـ
خ
ਖ਼
11
دال
dāla
/d/
ـد
ـد
د
د
ਦ
12
ڈال
ḍāla
/ɖ/
ـڈ
ـڈ
ڈ
ڈ
ਡ
13
ذال
ẕāla
/z/
ـذ
ـذ
ذ
ذ
ਜ਼
14
رے
rē
/r/
ـر
ـر
ر
ر
ਰ
15
ڑے
ṛē
/ɽ/
ـڑ
ـڑ
ڑ
ڑ
ੜ
16
زے
zē
/z/
ـز
ـز
ز
ز
ਜ਼
17
ژے
zhē
/ʒ/
ـژ
ـژ
ژ
ژ
-
18
سین
sīna
/s/
ـس
ـسـ
سـ
س
ਸ
19
شین
shīna
/ʃ/
ـش
ـشـ
شـ
ش
ਸ਼
20
صاد
ṣwāda
/s/
ـص
ـصـ
صـ
ص
ਸ
21
ضاد
ẓwāda
/z/
ـض
ـضـ
ضـ
ض
ਜ਼
22
طوۓ
t̤o'ē
/t/
ـط
ـطـ
طـ
ط
ਤ
23
ظوۓ
z̤o'ē
/z/
ـظ
ـظـ
ظـ
ظ
ਜ਼
24
عین
ʻ aina
/ə,ɑː,ɪ,iː,u,uː,oː,ɔː,eː,ɛː, ʔ, ∅/
ـع
ـعـ
عـ
ع
ਅ,ਆ,ਇ,ਈ,ਉ,ਊ,ਏ,ਐ,ਓ,ਔ
25
غین
g͟haina
/ɣ/
ـغ
ـغـ
غـ
غ
ਗ਼
26
فے
fē
/f/
ـف
ـفـ
فـ
ف
ਫ਼
27
قاف
qāfa
/q/
ـق
ـقـ
قـ
ق
ਕ਼
28
کاف
kāfa
/k/
ـک
ـکـ
کـ
ک
ਕ
29
گاف
gāfa
/ɡ/
ـگ
ـگـ
گـ
گ
ਗ
30
لام
lāma
/l/
ـل
ـلـ
لـ
ل
ਲ
31[ 13]
لؕام
ḷāma
/ɭ/
ـلؕ
ـلؕـ
لؕـ
لؕ
ਲ਼
32
میم
mīma
/m/
ـم
ـمـ
مـ
م
ਮ
33
نون
nūna
/n, ɲ/
ـن
ـنـ
نـ
ن
ਨ
34[ 13]
ݨون
ṇūṇa
/ɳ/
ـݨ
ـݨـ
ݨـ
ݨ
ਣ
35
نون غنّہ
nūn ġunnah
/◌̃ , ŋ/
ـں
ـن٘ـ
ن٘ـ
ں
(ن٘)
ੰ , ਂ
36
واؤ
wā'oa
/ʋ, uː, ʊ, oː, ɔː/
ـو
ـو
و
و
ੳ , ਵ
37
نکی ہے گول ہے
choṭī hē gol hē
/ɦ, ɑː, e:/
ـہ
ـہـ
ہـ
ہ
ਹ
38
دو چشمی ہے
do-cashmī hē
/ʰ/ หรือ /ʱ/
ـھ
ـھـ
ھ
ھ
หลายแบบ / ੍ਹ
39
ہمزہ
hamzah
/ʔ/ , /∅/
ء
ء
ء
ء
-
40
چھوٹی يے
choṭī yē
/j, iː/
ـی
ـیـ
یـ
ی
ੲ , ਯ
41
وڈّی يے
waḍḍi yē
/ɛː, eː/
ـے
N/A
N/A
ے
ੇ , ੈ
ไม่มีศัพท์ภาษาปัญจาบใดที่เริ่มต้นด้วย ں , ھ , ڑ หรือ ے
ے (waddi ye) พบเฉพาะในตำแหน่งท้าย เมื่อมีรูปเขียนที่ออกเสียงเป็น e (ਏ) หรือ æ (ਐ) และอยู่ในตำแหน่งต้นหรือกลาง จะเขียนในรูป یَ แทน
รูปสระแบ่งได้ดังนี้:
อักษรโรมัน
ท้าย
กลาง
ต้น
a (ਅ)
ـہ
ـَ
اَ
ā (ਆ)
یٰ
ـَا
آ
i (ਇ)
N/A
ـِ
اِ
ī (ਈ)
ـِى
ـِيـ
اِی
ē (ਏ)
ـے
ـيـ
اے
ai (ਐ)
ـَے
ـَيـ
اَے
u (ਉ)
N/A
ـُ
اُ
ū (ਊ)
ـُو
اُو
o (ਓ)
ـو
او
au (ਔ)
ـَو
اَو
ภาพ
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
↑ Evans, Lorna Priest; Malik, M.G. Abbas (1 May 2019). "Unicode Proposal for ArLaam" (PDF) . Unicode . Punjabi Parchar. เก็บ (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 21 April 2020. สืบค้นเมื่อ 21 April 2020 .
↑ Singh Saini, Tejineder; Singh Lehal, Gurpreet; S Kalra, Virinder (August 2008). "Shahmukhi to Gurmukhi Transliteration System" . Aclweb.org . Coling 2008 Organizing Committee: 177–180. เก็บ (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 14 August 2017. สืบค้นเมื่อ 21 April 2020 .
↑ 3.0 3.1 3.2 Sharma, Saurabh; Gupta, Vishal (May 2013). "Punjabi Documents Clustering System" (PDF) . Journal of Emerging Technologies in Web Intelligence . 5 (2): 174. doi :10.4304/JETWI.5.2.171-187 . S2CID 55699784 . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 21 April 2020. สืบค้นเมื่อ 21 April 2020 .
↑ 4.0 4.1 4.2 4.3 4.4 Dhanju, Kawarbir Singh; Lehal, Gurpreet Singh; Saini, Tejinder Singh; Kaur, Arshdeep (October 2015). "Design and Implementation of Shahmukhi Spell Checker" (PDF) . Learnpunjabi.org . เก็บ (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 21 December 2018. สืบค้นเมื่อ 2 May 2020 .
↑ Malik, Muhammad Ghulam Abbas; Boitet, Christian; Bhattcharyya, Pushpak (27 June 2012) [2010]. "ANALYSIS OF NOORI NASTA'LEEQ FOR MAJOR PAKISTANI LANGUAGES" . King AbdulAziz University . Penang, Malaysia. p. 4. เก็บ (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 August 2017. สืบค้นเมื่อ 21 April 2020 .
↑ 6.0 6.1 Dorren, Gaston (2018). Babel: Around the World in Twenty Languages . Profile Books. ISBN 978-1782832508 .
↑ Sharma, Saurabh; Gupta, Vishal (May 2013). "Punjabi Documents Clustering System" (PDF) . Journal of Emerging Technologies in Web Intelligence . 5 (2): 174. doi :10.4304/JETWI.5.2.171-187 . S2CID 55699784 . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 21 April 2020. สืบค้นเมื่อ 21 April 2020 .
↑ Handbook of Literacy in Akshara Orthography . Springer. 2019. p. 142. ISBN 978-3030059774 .
↑ Omer Tarin, 'Hazrat Baba Farid Ganj Shakar and the evolution of the literary Punjabi:A Brief Review' in Journal of Humanities and Liberal Arts , 1995, pp.21-30
↑ Bhardwaj, Mangat (2016). Panjabi: A Comprehensive Grammar . Routledge. p. 378. ISBN 978-1317643265 . It is an ancient Arabic writing tradition (carried on in Persian, Urdu and Shahmukhi) to omit the diacritics (except the Hamza) in ordinary writing and to depend on the context to interpret a word.
↑ "Punjabi - Shahmukhi Script" . sanlp.org . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 19 September 2019. สืบค้นเมื่อ 22 April 2020 .
↑ 13.0 13.1 แทบไม่ค่อยใช้ในวรรณกรรม เว้นแต่จะระบุการออกเสียงของอักษรที่ไม่ม้วนลิ้น
แหล่งข้อมูลอื่น
อักษรอาหรับที่ใช้เขียนภาษาต่าง ๆ
ทวีปยุโรป ทวีปเอเชีย ทวีปแอฟริกา