ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2013 นัดชิงชนะเลิศ

ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2013 นัดชิงชนะเลิศ
รายการฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2013
วันที่21 ธันวาคม พ.ศ. 2556
สนามสตาด เดอ มาร์ราคิช, มาร์ราคิช
ผู้เล่นยอดเยี่ยม
ประจำนัด
ฟร็องก์ รีเบรี (บาเยิร์นมิวนิก)
ผู้ตัดสินซังดรู ริคชี (บราซิล)
ผู้ชม37,774 คน
สภาพอากาศกลางคืนอากาศสดใส
13 องศาเซลเซียส (55 องศาฟาเรนไฮต์)
65% ความชื้นสัมพัทธ์
2012
2014

การแข่งขัน ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2013 นัดชิงชนะเลิศ เป็นการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศของ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก 2013, เป็นทัวร์นาเมนต์ฟุตบอลที่เป็นเจ้าภาพโดย ประเทศโมร็อกโก. ครั้งนี้เป็นนัดชิงชนะเลิศครั้งที่ 10 ของ ฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก, ทัวร์นาเมนต์ที่มีการจัดขึ้นโดยฟีฟ่าระหว่างสโมสรที่เป็นผู้ชนะจากแต่ละทีมแต่ละสมาพันธ์จากหกทวีป, เช่นเดียวกับแชมป์ลีกจากชาติเจ้าภาพ.

รอบชิงชนะเลิศเป็นการตัดสินกันระหว่าง สโมสรจากเยอรมัน บาเยิร์นมิวนิก, เป็นตัวแทนของ ยูฟ่า ในฐานะครองแชมป์ของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก, และสโมสรจากโมร็อกโก ราจา คาซาบลังกา, เป็นตัวแทนของประเทศเจ้าภาพในฐานะครองแชมป์ของ โบโตลา. ครั้งนี้จะลงเล่นที่ สตาด เดอ มาร์ราคิช ใน มาร์ราคิช เมื่อวันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2556.[1][2]

ภูมิหลัง

บาเยิร์นมิวนิก

บาเยิร์นมิวนิก ได้สิทธิ์สำหรับทัวร์นาเมนต์ในฐานะทีมชนะเลิศของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012–13, ด้วยการเอาชนะ 2–1 ในการพบกับ โบรุสซีอาดอร์ทมุนท์ ใน เกมนัดชิงชนะเลิศ. นี่เป็นครั้งแรกของบาร์เซโลนาที่ได้เข้าร่วมในทัวร์นาเมนต์. พวกเขาได้ลงเล่นสองครั้งใน อินเตอร์คอนติเนนตัล คัพ, ก่อนหน้าที่จะเป็นฟุตบอลชิงแชมป์สโมสรโลก, ในปี ค.ศ. 1976 และ ค.ศ. 2001.[3] พวกเขาได้ทะลุเข้าชิงชนะเลิศโดยที่สามารถเอาชนะสโมสรจากจีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์ ในรอบรองชนะเลิศ.[4]

ราจา คาซาบลังกา

ราจา คาซาบลังกา ชนะ โบโตลา ฤดูกาล 2012–13 ที่ได้รับตำแหน่งประเทศเจ้าภาพของทัวร์นาเมนต์. นี่เป็นครั้งที่สองของราจา คาซาบลังกา ที่เข้าร่วมในการแข่งขัน, มีส่วนร่วมในการแข่งขันในยุคสถาปนาในปี ค.ศ. 2000. พวกเขาคือทีมที่สองที่สามารถเข้าชิงชนะเลิศของการแข่งขัน (หลัง โครินเธียนส์ ในปี ค.ศ. 2000) ภายใต้เงื่อนไขของการเป็นทีมชนะเลิศของประเทศเจ้าภาพ,[5][6] เช่นเดียวกับทีมจากแอฟริกาที่ได้เข้าชิงชนะเลิศเป็นครั้งที่สอง (หลัง ทีพี มาเซมเบ ใน 2010).[7] พวกเขาได้เข้ามาถึงรอบชิงชนะเลิศหลังจากที่เอาชนะสโมสรจากนิวซีแลนด์ ออกแลนด์ ซิตี ในรอบเพลย์ออฟ,[8] สโมสรจากเม็กซิโก มอนเตอร์เรย์ ในรอบก่อนรองชนะเลิศ,[9] และสโมสรจากบราซิล อัตเลตีโก มีไนรู ในรอบรองชนะเลิศ.[10]

เส้นทางสู่นัดชิงชนะเลิศ

ประเทศเยอรมนี บาเยิร์นมิวนิก ทีม ประเทศโมร็อกโก ราจา คาซาบลังกา
ยูฟ่า สมาพันธ์ ซีเอเอฟ
ชนะเลิศของ ยูฟ่าแชมเปียนส์ลีก ฤดูกาล 2012–13 ได้สิทธิ์เข้ารอบในฐานะ ชนะเลิศของ โบโตลา ฤดูกาล 2012–13
บาย รอบเพลย์ออฟ 2–1 ประเทศนิวซีแลนด์ ออกแลนด์ ซิตี
(เอียจูร์ 39', ฮาฟิดี 90+2')
บาย รอบก่อนรองชนะเลิศ 2–1
(ต่อเวลา)
ประเทศเม็กซิโก มอนเตอร์เรย์
(ชติบี 24', กูเอฮี 95')
3–0 ประเทศจีน กว่างโจว เอเวอร์แกรนด์
(รีเบรี 40', มันจูคิช 44', เกิทเซอ 47')
รอบรองชนะเลิศ 3–1 ประเทศบราซิล อัตเลตีกู มีไนรู
(เอียจูร์ 51', มูตูอาลี 84' (ลูกโทษ), มาบิเด 90+4')

นัด

สรุปผลการแข่งขัน

รายละเอียด

บาเยิร์นมิวนิก
ราจา คาซาบลังกา
GK 1 ประเทศเยอรมนี มานูเอล นอยเออร์
RB 13 ประเทศบราซิล ราฟีญา
CB 17 ประเทศเยอรมนี เชโรม โบอาเทง
CB 4 ประเทศบราซิล ดังชี
LB 27 ประเทศออสเตรีย ดาวิด อาลาบา
DM 21 ประเทศเยอรมนี ฟิลิปป์ ลาห์ม (กัปตัน)
RM 11 ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ แจร์ดัน ชาชีรี Substituted off in the 80th นาที 80'
CM 6 ประเทศสเปน เตียโก
CM 39 ประเทศเยอรมนี โทนี โครส Substituted off in the 60th นาที 60'
LM 7 ประเทศฝรั่งเศส ฟร็องก์ รีเบรี
CF 25 ประเทศเยอรมนี โทมัส มึลเลอร์ Substituted off in the 76th นาที 76'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 22 ประเทศเยอรมนี ทอม ชทาร์เคอ
GK 32 ประเทศเยอรมนี ลูคัส ราเออเดอร์
DF 5 ประเทศเบลเยียม ดาเนียล ฟัน บุยเทิน
DF 15 ประเทศเยอรมนี ยัน เคิร์ชฮอฟฟ์
DF 26 ประเทศเยอรมนี ดีเอโก คอนเตนโต
MF 8 ประเทศสเปน คาบี มาร์ตีเนซ Substituted on in the 60th minute 60'
MF 19 ประเทศเยอรมนี มารีโอ เกิทเซอ Substituted on in the 80th minute 80'
MF 23 ประเทศเยอรมนี มิตเชลล์ ไวเซอร์
MF 34 ประเทศเดนมาร์ก ปีแอร์-เอมิล ฮอยแบร์ก
MF 37 ประเทศเยอรมนี จูเลียน กรีน
FW 9 ประเทศโครเอเชีย มารีโอ มันจูคิช Substituted on in the 76th minute 76'
FW 14 ประเทศเปรู เคลาดีโอ ปีซาร์โร
ผู้จัดการทีม:
ประเทศสเปน แป็ป กวาร์ดิออลา
GK 61 ประเทศโมร็อกโก คาลิด อัสครี
RB 3 ประเทศโมร็อกโก ซากาเรีย เอล ฮาชิมี
CB 27 ประเทศโมร็อกโก อิสมาอิล เบนลามาเล็ม
CB 16 ประเทศโมร็อกโก โมฮาเหม็ด โออุลฮัจ โดนใบเหลือง ใน 55th นาที 55'
LB 21 ประเทศโมร็อกโก อาดิล เคอร์รูชี
CM 99 ประเทศโมร็อกโก อิสซัม เออร์รากี
CM 28 ประเทศโกตดิวัวร์ คูโค กูเอฮี
RW 8 ประเทศโมร็อกโก เชมเซดดีน ชติบี Substituted off in the 50th นาที 50'
AM 5 ประเทศโมร็อกโก มูห์ซีน มูตูอาลี (กัปตัน)
LW 18 ประเทศโมร็อกโก อับเดลิลาห์ ฮาฟิดี Substituted off in the 88th นาที 88'
CF 20 ประเทศโมร็อกโก มูห์ซีน เอียจูร์ Substituted off in the 78th นาที 78'
ผู้เล่นสำรอง:
GK 1 ประเทศโมร็อกโก ยาสซีน เอล ฮัด
GK 37 ประเทศโมร็อกโก บราฮิม ซาอารี
DF 4 ประเทศโมร็อกโก อาห์เหม็ด ราห์มานี
DF 17 ประเทศโมร็อกโก ราชิด ซูไลมานี โดนใบเหลือง ใน 79th นาที 79' Substituted on in the 78th minute 78'
DF 31 ประเทศมาลี ไอดริสซา คูลิบาลี
MF 7 สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก เดโอ คันดา
MF 24 สาธารณรัฐแอฟริกากลาง วิอันนีย์ มาบิเด Substituted on in the 50th minute 50'
MF 26 ประเทศโมร็อกโก อิสมาอิล คูชาเม
MF 30 ประเทศโมร็อกโก เรดูอาเน ดาร์ดูรี
FW 9 ประเทศโมร็อกโก อับเดลมาจิด ดิเน
FW 10 ประเทศโมร็อกโก บาดร์ คาชานี Substituted on in the 88th minute 88'
FW 25 ประเทศโมร็อกโก ยาสซีน ซัลฮี
ผู้จัดการทีม:
ประเทศตูนิเซีย ฟาอูซี เบนซาร์ตี

ผู้เล่นยอดเยี่ยมประจำนัด:
ฟร็องก์ รีเบรี (บาเยิร์นมิวนิก)

ผู้ช่วยผู้ตัดสิน:
เอแมร์ซง จี การ์วัลญู (บราซิล)
มาร์เซลู วัน กัสเซ (บราซิล)
ผู้ตัดสินที่สี่:
มาร์ค ไกเกอร์ (สหรัฐอเมริกา)
ผู้ตัดสินที่ห้า:
ชอน เฮิร์ด (สหรัฐอเมริกา)

ข้อมูลในการแข่งขัน[11]

  • 90 นาที
  • ต่อเวลาพิเศษไปอีก 30 นาที เมื่อทั้งสองทีมเสมอกันในเวลาปกติ
  • ตัดสินด้วยการดวลลูกจุดโทษ เพื่อหาผู้ชนะ
  • รายชื่อผู้เล่นตัวสำรองมีได้สูงสุดถึง 12 คน
  • การเปลี่ยนตัวผู้เล่นมีจำนวนสูงสุดได้ถึง 3 คน

อ้างอิง

  1. "Bayern breeze into CWC final". ESPN FC. ESPN Internet Ventures. 17 ธันวาคม พ.ศ. 2556. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  2. "Raja Casablanca 3-1 Atletico Mineiro". BBC Sport (British Broadcasting Corporation). 18 ธันวาคม พ.ศ. 2556. สืบค้นเมื่อ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  3. "Bayern Munich cruises into Club World Cup final". USA Today. 2013-12-16. สืบค้นเมื่อ 2013-12-20.
  4. "Bayern Munich through to Fifa Club World Cup final with 3-0 win". BBC. 2013-12-16. สืบค้นเมื่อ 2013-12-20.
  5. Matchett, Karl (18 ธันวาคม พ.ศ. 2556). "Raja Casablanca vs. Atletico Mineiro: Score, Grades and Post-Match Reaction". Bleacher Report. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2556. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  6. McCauley, Kevin (16 ธันวาคม พ.ศ. 2556). "Raja Casablanca vs. Atletico Mineiro: Final score 3-1, Moroccan champions will face Bayern Munich". SBNation.com (Vox Media). สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2556. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  7. "Raja shock Atletico to reach final". cafonline.com (Confederation of African Football). 19 ธันวาคม พ.ศ. 2556. สืบค้นเมื่อ 21 เมษายน พ.ศ. 2557. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  8. "Raja score late to beat Auckland". BBC Sport (British Broadcasting Corporation). 12 ธันวาคม พ.ศ. 2556. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2556. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  9. "Raja Casablanca reach Club World Cup semi-final". BBC Sport (British Broadcasting Corporation). 15 ธันวาคม พ.ศ. 2556. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2556. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  10. Hughes, Ian (19 ธันวาคม พ.ศ. 2556). "Raja revel in historic victory". BBC Sport (British Broadcasting Corporation). สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2556. {{cite news}}: ตรวจสอบค่าวันที่ใน: |accessdate= และ |date= (help)
  11. "Regulations – FIFA Club World Cup Morocco 2013" (PDF). FIFA. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2013-10-08. สืบค้นเมื่อ 2016-12-16.

แหล่งข้อมูลอื่น

 

Prefix: a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

Portal di Ensiklopedia Dunia