จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

← พ.ศ. 2518 4 เมษายน พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2522 →

9 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน615,638
ผู้ใช้สิทธิ53.19%
  First party Second party Third party
 
ประมาณ อดิเรกสาร.jpg
Seni Pramoj in 1945.jpg
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
ผู้นำ ประมาณ อดิเรกสาร หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
พรรค ชาติไทย ประชาธิปัตย์ กิจสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 1 0 1
ที่นั่งที่ชนะ 6 3 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น5 เพิ่มขึ้น3 ลดลง1

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
Prasit Kanchanawat.jpg
Somkid Srisangkom (cropped).png
ผู้นำ ประสิทธิ์ กาญจนวัฒน์ ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ สมคิด ศรีสังคม
พรรค สังคมชาตินิยม ประชาธรรม (พ.ศ. 2517) สังคมนิยมแห่งประเทศไทย
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 0 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง1 ลดลง2

  Seventh party
 
Dawee Chullasapya (9to12).jpg
ผู้นำ ทวี จุลละทรัพย์
พรรค ธรรมสังคม
ที่นั่งก่อนหน้า 3
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง3

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
กิจสังคม

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2519 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 3 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 9 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2518 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2เขต 3

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ, อำเภอเขื่องใน และกิ่งอำเภอหัวตะพาน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย เฉลิม สุขเสริม (12) 46,754
ชาติไทย โกศล มารมย์ (13) 37,067
ชาติไทย ไพฑูรย์ โหตระไวศยะ (11) 35,969
ประชาธิปัตย์ ธีระชัย ศิริขันธ์ (17) 25,358
ประชาธิปัตย์ ประมวล ศิริภูล (16) 18,552
สังคมชาตินิยม สุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ (6)* 15,247
ธรรมสังคม ประทีป ทองคำใส (10)* 13,528
ชาติไทย ประวิทย์ ศรีธัญรัตน์ (3)* 12,107
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) กลิ่น ปลั่งนิล (5)✔ 10,910
กิจสังคม จุลพงศ์ ตลอดพงษ์ (2) 10,414
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ประสาน คุ้มแถว (1) 7,081
ประชาธิปัตย์ ทองคำ จินารัตน์ (26) 6,923
พลังใหม่ นิคม สายสุวรรณ (7) 4,758
กิจสังคม พรรณี ธานี (4) 3,906
พลังใหม่ บัว สายหงษ์ (9) 3,321
พิทักษ์ไทย ลิขิต ขันอาสา (15) 2,758
พลังใหม่ เชิดศักดิ์ สถีรศิลปิน (8) 2,613
สังคมประชาธรรม ประสิทธิ บุญเฉลียว (18) 2,048
พลังสยาม ชาญณรงค์ ชาญบัณฑิตนันท์ (23) 1,700
แนวร่วมประชาธิปไตย ประเสริฐ นันทบุตร (14) 1,689
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ไพฑูรย์ ชอบเสียง (20) 1,662
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ผไท ภูธา (19) 1,178
ธรรมาธิปไตย กมล มุสิกสวัสดิ์ (21) 1,109
พลังสยาม สังคม ศรีจันทร์เติม (22) 782
ธรรมาธิปไตย อุดร สุวรรณกูฏ (24) 266
เศรษฐกร (พ.ศ. 2517) ไพฑูรย์ ภูริพัฒน์ (25) 195
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก สังคมชาตินิยม
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก ธรรมสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 2

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอโขงเจียม, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน, อำเภอศรีเมืองใหม่ และกิ่งอำเภอนาจะหลวย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ ร้อยตำรวจโท ณรงค์ เทวคุปต์ (16) 50,088
ประชาธิปัตย์ สุทวิช สุพรรณ (15) 48,720
ประชาธิปัตย์ เชวงศักดิ์ เศษฐมาตย์ (14) 40,871
กิจสังคม ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ (6)* 27,348
กิจสังคม กำชัย เรืองกาญจนเศรษฐ์ (7) 22,029
ชาติไทย พลอากาศโท สวน สุขเสริม (2) 21,286
ชาติไทย ไชยพจน์ ภู่กำชัย (13) 10,990
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ปรีชา ภารการ (1) 9,521
ธรรมสังคม สมาน งามสนิท (4)* 7,980
ธรรมสังคม เพียร พุ่มจันทร์ (3)* 6,879
สยามใหม่ (พ.ศ. 2518) สมบูรณ์ ทองมา (5) 4,701
แนวร่วมประชาธิปไตย วิเชียร ชาบุตรบุณฑริก (12) 2,791
ธรรมาธิปไตย จ่าสิบตำรวจ วิเศษ วามสิงห์ (17) 2,156
แนวร่วมประชาธิปไตย พันธ์ บุญจบ (18) 1,603
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย โชติ สุวรรณา (10) 1,576
สันติชน เสน่ห์ จูมพระบุตร (8) 1,497
ประชาก้าวหน้า ผล ไตรสาร (19) 1,060
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย สุรสีห์ ผาธรรม (11) 877
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ประชา ศรีสุวรรณ (9) 740
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ประชาธรรม (พ.ศ. 2517)
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ธรรมสังคม
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก ธรรมสังคม

เขตเลือกตั้งที่ 3

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอเขมราฐ, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา, อำเภอชานุมาน, กิ่งอำเภอกุดข้าวปุ้น และกิ่งอำเภอเสนางคนิคม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย ประสิทธิ์ จันทวารา (6) 39,029
ชาติไทย อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ (4)* 28,789
ชาติไทย ยิ่ง สิทธิธรรม (5)✔ 27,200
กิจสังคม มนต์ชัย โควสุรัตน์ (27) 17,751
ประชาธิปัตย์ ดุสิต โสภิตชา (22) 17,541
ประชาธิปัตย์ สายสิน ใจหาญ (21) 16,045
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) สง่า พาวงษ์ (3) 15,639
พลังเสรี นาถ เงินทาบ (1)✔ 14,743
ประชาธิปัตย์ สะอาด ประเปรียว (23) 12,333
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย สมนึก ทองรุ่งโรจน์ (9)✔ 11,877
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย สุทัศน์ เงินหมื่น (8)* 11,802
กิจสังคม สุบิน ศรีสอาด (26) 10,546
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ยงยุทธ พึ่งภพ (18) 8,552
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย วิชัย เสวะมาตย์ (10)* 7,064
พลังใหม่ สถาน สุวรรณราช (14) 5,787
กิจสังคม สิบโท ประศาส์น มณีภาค (28) 5,393
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) สถิตย์ สุยังกุล (17) 5,264
กรุงสยาม วิศิษฎ์ บุญศิลป์ (25) 4,920
พลังใหม่ ประเสริฐ บุญเอก (16) 4,784
ธรรมาธิปไตย พงษ์พจน์ ประสงค์สิน (12) 4,758
ไท (พ.ศ. 2517) สงัด บัวพา (13) 4,627
ธรรมสังคม ทองมาก จันทะลือ (11)✔ 4,558
พลังใหม่ จุมพล อ่อนดี (15) 4,478
แนวร่วมสังคมนิยม ประศิษฎ์ เจริญรัตน์ (7) 3,568
แนวร่วมประชาธิปไตย สมัคร เมฆวิมล (2) 2,084
พิทักษ์ไทย โสรัจ นามอ่อน (24) 1,994
ธรรมาธิปไตย ทินกร ชุติเนตร (19) 882
ชาตินิยม อัมพร จุลพันธ์ (20) 870
แนวร่วมประชาธิปไตย โกเศียร ดาวหน (29) 790
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก สังคมนิยมแห่งประเทศไทย
ชาติไทย รักษาที่นั่ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก สังคมนิยมแห่งประเทศไทย

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๔ เมษายน ๒๕๑๙ (วิจัย ๑). กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2519

 

Prefix: a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

Portal di Ensiklopedia Dunia