จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

จังหวัดอุบลราชธานีในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531

← พ.ศ. 2529 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 มีนาคม พ.ศ. 2535 →

12 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน741,470
ผู้ใช้สิทธิ78.04%
  First party Second party Third party
 
Siddhi Savetsila (1980).jpg
Bhichai Rattakul 2010-04-01.jpg
อาทิตย์ กำลังเอก.jpg
ผู้นำ สิทธิ เศวตศิลา พิชัย รัตตกุล อาทิตย์ กำลังเอก
พรรค กิจสังคม ประชาธิปัตย์ ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525)
ที่นั่งก่อนหน้า 7 1 0
ที่นั่งที่ชนะ 5 2 2
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง2 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น2

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
บุญชู โรจนเสถียร.jpg
Chatichai Choonhavan.jpg
เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์.jpg
ผู้นำ บุญชู โรจนเสถียร ชาติชาย ชุณหะวัณ เฉลิมพันธ์ ศรีวิกรม์
พรรค กิจประชาคม ชาติไทย ประชาชน (พ.ศ. 2531)
ที่นั่งก่อนหน้า 1 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 1 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน Steady0 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Seventh party
 
Tianchai Sirisampan.jpg
ผู้นำ เทียนชัย สิริสัมพันธ์
พรรค ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ที่นั่งก่อนหน้า 3
ที่นั่งที่ชนะ 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง3

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

เปรม ติณสูลานนท์
อิสระ

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

ชาติชาย ชุณหะวัณ
ชาติไทย

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2531 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2531 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2531 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 4 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 12 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2529 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2เขต 3เขต 4

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอเมืองอุบลราชธานี, อำเภอวารินชำราบ และกิ่งอำเภอสำโรง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ชาติไทย พูลสวัสดิ์ โหตระไวศยะ (13)✔ 65,700
ประชาชน (พ.ศ. 2531) วิทยา ขันอาสา (7)* 54,620
กิจสังคม ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์ (10)* 45,119
กิจสังคม สุรศักดิ์ เทียมประเสริฐ (11)* 42,444
กิจสังคม สมพงษ์ โกศัลวัฒน์ (12) 31,825
พลังธรรม เสถียร ยุระชัย (5) 14,825
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สุทวิช สุพรรณ (39)✔ 14,396
พลังธรรม พิชิต ชนะกุล (6) 13,109
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ไกรศักดิ์ ประเสริฐสุข (37) 11,418
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สัญญาศักดิ์ สมหมาย (38) 11,109
พลังธรรม นรินทร์ วิลามาศ (4) 10,909
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) มนต์ชัย โควสุรัตน์ (19)✔ 9,095
ประชาชน (พ.ศ. 2531) วิสิทธิ์ ศักดิ์สิงห์ (8) 3,746
ชาติไทย มโนพร วาจรัต (14) 3,069
ชาติไทย รักพงศ์ ธนสารกุล (15) 2,521
ประชาชน (พ.ศ. 2531) พร ศิริผล (9) 2,143
ประชาธิปัตย์ เลิศ แก้วเนตร (18) 1,773
ประชาธิปัตย์ ไพฑูรย์ ชอบเสียง (16) 1,718
ประชากรไทย สุพจน์ คนตรง (2) 1,350
ประชากรไทย กำจัด สุขศรี (1) 1,342
ประชากรไทย บัญชา จำปารักษ์ (3) 1,276
ประชาธิปัตย์ สุรพงศ์ สิงห์สุทธิ์ (17) 1,168
เกษตรอุตสาหกรรมไทย พันธ์ ทวีพรม (36) 684
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สมประสงค์ บุตรวงศ์ (29) 665
มวลชน วรนุช เจนศิริศักดิ์ (31) 536
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) รักพงศ์ ณรงค์พันธ์ (28) 501
รวมไทย (พ.ศ. 2529) เสริม ปราบภัย (27) 454
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สมเกียรติ สาริกานนท์ (30) 311
เกษตรอุตสาหกรรมไทย พิชัย จันทร์ดา (35) 306
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) กิตติพงษ์ ไพกะเพศ (20) 289
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สมบัติ แสวงผล (21) 285
มวลชน ประมวล นูพิมพ์ (33) 260
สหประชาธิปไตย ประจักษ์ โพธิสาร (23) 257
มวลชน ศราวุธ โรจนาวรรณ (32) 234
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ชูศักดิ์ ประสาทศรี (34) 205
สหประชาธิปไตย ชุมพล จิตรภักดี (22) 176
สหประชาธิปไตย สนธิ ฉัตรทอง (24) 99
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ไสว จันทร์เปรียง (26) 84
รวมไทย (พ.ศ. 2529) แก้ว เลิศรู้ (25) 72
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ชาติไทย ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 2

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเดชอุดม, อำเภอพิบูลมังสาหาร, อำเภอบุณฑริก, อำเภอน้ำยืน และอำเภอนาจะหลวย

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ตุ่น จินตะเวช (16)✔ 48,930
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ปัญญา จินตะเวช (17) 44,677
กิจสังคม ชาตรี พิริยะกิจไพบูลย์ (7)✔ 41,835
ราษฎร (พ.ศ. 2529) อิสสระ สมชัย (6)* 38,393
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ผัน บุญชิต (4)* 37,286
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สมพงษ์ เศรษฐมาตย์ (18) 31,620
ราษฎร (พ.ศ. 2529) ดำรงค์ บุญชิต (5)* 29,328
กิจสังคม อาจ บุญถม (9) 20,007
ชาติไทย เชวงศักดิ์ เศรษฐมาตย์ (1)✔ 10,200
กิจสังคม ปรีชา ภารการ (8) 10,129
ประชาธิปัตย์ ยัง โสภาสาย (10) 9,155
พลังธรรม สิทธิไกรศร บุญจูง (15) 6,421
พลังธรรม อาคม ริมทอง (13) 6,147
ประชาธิปัตย์ กิ่งแก้ว พวงจำปา (11) 5,653
พลังธรรม ปรีชา แสงชาติ (14) 5,353
ประชาธิปัตย์ วิรัช หาคำห่อ (12) 4,756
ประชากรไทย ปรีชา แก้วปัญญา (19) 3,049
ชาติไทย ถนัด ประเสริฐศรี (3) 2,548
ชาติไทย จรวย แก่นวงษ์คำ (2) 2,545
ประชากรไทย ไพฑูรย์ บัวขาว (20) 1,333
เกษตรอุตสาหกรรมไทย สุภาพร อาจเอี่ยม (36) 1,255
สหประชาธิปไตย บุญธรรม บุญอินทร์ (26) 737
สหประชาธิปไตย สุภัทร วรธงไชย (27) 734
รวมไทย (พ.ศ. 2529) อ่อน หอยจันทร์ (28) 526
ประชากรไทย วรวิทย์ บุญเลิศ (21) 437
เกษตรอุตสาหกรรมไทย บานเย็น เมืองจันทร์ (35) 371
เกษตรอุตสาหกรรมไทย พิเชษฐ์ ผลเหม (34) 355
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) วีระชน ศิริเยี่ยม (22) 334
มวลชน ทิวากร กันยามา (31) 292
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) กริช หลิ่มละม้าย (23) 261
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สุชัย หักเค (24) 259
สหประชาธิปไตย กิตติ ชาญประดิษฐ์ (25) 242
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ร่วม เสนาภักดิ์ (29) 195
มวลชน อโนชา สุทธิเนตร (33) 161
มวลชน พรชัย แหยมรักษา (32) 149
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ชม ผิวอ่อน (30) 130
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ได้ที่นั่งจาก ราษฎร (พ.ศ. 2529)
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ได้ที่นั่งจาก ราษฎร (พ.ศ. 2529)
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ราษฎร (พ.ศ. 2529)

เขตเลือกตั้งที่ 3

เขตการเลือกตั้งที่ 3 ประกอบด้วยอำเภอม่วงสามสิบ, อำเภอเขื่องใน, อำเภออำนาจเจริญ, อำเภอพนา และอำเภอหัวตะพาน

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 3 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
ประชาธิปัตย์ สุทัศน์ เงินหมื่น (7)✔ 76,766
กิจสังคม ธนา เมตตาริกานนท์ (22)* 58,461
กิจสังคม สนิท จันทรวงศ์ (23)* 48,723
ชาติไทย ประสิทธิ์ จันทวารา (19)✔ 43,342
กิจสังคม ธีระชัย ศิริขันธ์ (24)* 42,361
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ทวี กาญจนพิมล (18) 14,859
ประชาธิปัตย์ ธีรศักดิ์ กีฬา (8) 12,122
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) สวิง บุญเจิม (10) 9,597
พลังธรรม ดำรงค์ ลุประสงค์ (2) 5,350
พลังธรรม บุญจันทร์ โภคผล (1) 5,024
ประชาธิปัตย์ ณัฐพล ทิมา (9) 4,227
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) บุญเกียรติ กะการดี (12) 4,045
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) แสวง กองกาญจน์ (11) 3,779
พลังธรรม มงคล จันทร์ทรง (3) 3,714
ประชากรไทย ทองพูล เกตุศักดิ์ (14) 1,907
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ทองคำ เพ็งดี (17) 1,863
ประชากรไทย ณรงค์ฤทธิ์ เสี้ยวทอง (13) 1,721
ประชาชน (พ.ศ. 2531) วารินทร์ ศรีแย้ม (29)✔ 1,650
ชาติไทย สรเลข จำนงภักดี (21) 1,605
สหประชาธิปไตย สิทธิชัย จึงตระกูล (32) 1,326
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ชัย รัตนะ (34) 1,109
กิจประชาคม ประยงค์ ไชยศรี (6) 970
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) เดช บุญวงศ์ (27) 924
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ประภาส สิถิระบุตร (25) 793
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) สมเกียรติ บำรุงไทย (16) 775
สหประชาธิปไตย ละนอง นัพสังข์ (33) 757
กิจประชาคม สมพร บุตตะ (4) 752
มวลชน ศมานันท์ ศิริมานนท์ (37) 583
ชาติไทย อวสันต์ แนบชิต (20) 532
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ชุมพล หรรษานนท์ (28) 495
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) สมชัย พรหมทอง (26) 491
มวลชน บำเพ็ญ มีโสภา (39) 398
เกษตรอุตสาหกรรมไทย วิมล วงศ์ประทุม (42) 382
ประชากรไทย เกรียงศักดิ์ แก้วเนตร (15) 346
พลังสังคมประชาธิปไตย สมศรี ผลอำนวย (43) 301
กิจประชาคม จรัล สถิตปรัชญากุล (5) 271
พลังสังคมประชาธิปไตย สมปอง ทองสลับ (44) 260
มวลชน ดวงจิตต์ อาราม (38) 251
เกษตรอุตสาหกรรมไทย เพชร จตุรัส (41) 159
เกษตรอุตสาหกรรมไทย พรชัย เนตรวงศ์ (40) 152
สหประชาธิปไตย พงษ์เกียรติ อุดมอานุภาพสุข (31) 123
ประชาชน (พ.ศ. 2531) ไชยวัฒน์ ธีรกุล (30) 117
รวมไทย (พ.ศ. 2529) บุญยืน พลรักษ์ (35) 102
พลังสังคมประชาธิปไตย ทวีศักดิ์ แสงสว่าง (45) 102
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สายจันทร์ อินทรพงษ์ (36) 86
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง

เขตเลือกตั้งที่ 4

เขตการเลือกตั้งที่ 4 ประกอบด้วยอำเภอเขมราฐ, อำเภอตระการพืชผล, อำเภอโขงเจียม, อำเภอศรีเมืองใหม่, อำเภอชานุมาน, อำเภอกุดข้าวปุ้น, อำเภอเสนางคนิคม, อำเภอตาลสุม และอำเภอโพธิ์ไทร

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 4 จังหวัดอุบลราชธานี
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจประชาคม ดุสิต โสภิตชา (10)* 51,119
กิจสังคม อดิศักดิ์ โภคกุลกานนท์ (1)* 50,812
ประชาธิปัตย์ สุรศักดิ์ บัวขาว (15) 42,389
กิจสังคม ปรีชา เลาหพงศ์ชนะ (2)* 39,795
ชาติไทย เกรียงศักดิ์ บัวพันธ์ (25) 39,657
กิจสังคม วิทยา จันทวีศิริรัตน์ (3) 20,269
ประชาธิปัตย์ สมนึก ทองรุ่งโรจน์ (13)✔ 13,625
พลังธรรม ร้อยเอก สุเนตร ปาวรีย์ (4) 12,021
ประชาธิปัตย์ ชวนคิด ไขแสง (14) 11,214
พลังธรรม สิบเอก เวียงชัย โสภากันต์ (5) 10,180
พลังธรรม ธรรมนูญ พิมพัฒน์ (6) 8,212
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) พันเอก พิบูลย์ศักดิ์ นาคีรักษ์ (17) 7,976
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พุทรา หริคำภา (29) 7,786
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) จเร ไขแสง (16) 4,229
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) พิชิตศักดิ์ กนกหงษ์ (28) 4,083
ปวงชนชาวไทย (พ.ศ. 2525) ประเสริฐพงศ์ บุญเลิศ (30) 3,822
กิจประชาคม บรรจง นนทบุตร (11) 3,476
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) กำชัย ภู่กำชัย (20) 2,279
กิจประชาคม สุรศักดิ์ แสงเดช (12) 2,249
ประชากรไทย วิลาสินี โพธิ์แก้ว (8) 1,826
รวมไทย (พ.ศ. 2529) สิงห์ มนต์ทอง (24) 1,803
ประชากรไทย เสนีย์ คำสุข (9) 1,765
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) อาทิตย์ บุญอาจ (19) 1,483
ประชากรไทย ร้อยตำรวจโท สิงห์ เทียมรัตน์ (7) 1,031
เสรีนิยม (ประเทศไทย พ.ศ. 2525) ชำนาญ นาคีรักษ์ (18) 1,028
ชาติไทย ณรงค์ฤทธิ์ ขันธชาติ (27) 1,019
ชาติไทย ปกรณ์ แพทยกุล (26) 926
เกษตรอุตสาหกรรมไทย เศรษฐ์พงษ์ วงษ์ศิลา (31) 774
ก้าวหน้า (พ.ศ. 2526) ไสว พรมสอน (21) 743
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ไสว ศิลาวงษ์ (23) 439
เกษตรอุตสาหกรรมไทย พรวน หล้าเครือ (32) 414
รวมไทย (พ.ศ. 2529) ประจักษ์ รัตนะวัน (22) 396
เกษตรอุตสาหกรรมไทย ชนินทร์ กลิ่นนิยม (33) 361
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจประชาคม รักษาที่นั่ง
กิจสังคม รักษาที่นั่ง
ประชาธิปัตย์ ได้ที่นั่งจาก กิจสังคม

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. รายงานวิจัยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. 2531. กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2532

 

Prefix: a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

Portal di Ensiklopedia Dunia