จังหวัดสุรินทร์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

จังหวัดสุรินทร์ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519

← พ.ศ. 2518 4 เมษายน พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2522 →

6 ที่นั่งในสภาผู้แทนราษฎรไทย
ลงทะเบียน402,109
ผู้ใช้สิทธิ34.13%
  First party Second party Third party
 
Kukrit Pramoj 1974 (cropped).jpg
Krasae Chanawongse.jpg
251946 พรรคธรรมาธิปไตย (2519).png
ผู้นำ หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช กระแส ชนะวงศ์ เมธี กำเพ็ชร
พรรค กิจสังคม พลังใหม่ ธรรมาธิปไตย
ที่นั่งก่อนหน้า 0 0 0
ที่นั่งที่ชนะ 3 1 1
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น3 เพิ่มขึ้น1 เพิ่มขึ้น1

  Fourth party Fifth party Sixth party
 
นายญาติ ไหวดี.jpg
Seni Pramoj in 1945.jpg
Klaw Norapati.jpg
ผู้นำ ญาติ ไหวดี หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช แคล้ว นรปติ
พรรค สังคมก้าวหน้า ประชาธิปัตย์ แนวร่วมสังคมนิยม
ที่นั่งก่อนหน้า 0 1 1
ที่นั่งที่ชนะ 1 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน เพิ่มขึ้น1 ลดลง1 ลดลง1

  Seventh party Eighth party Ninth party
 
Dawee Chullasapya (9to12).jpg
Somkid Srisangkom (cropped).png
ผู้นำ ทวี จุลละทรัพย์ สมคิด ศรีสังคม ไชยศิริ เรืองกาญจนเศรษฐ์
พรรค ธรรมสังคม สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ประชาธรรม (พ.ศ. 2517)
ที่นั่งก่อนหน้า 1 1 2
ที่นั่งที่ชนะ 0 0 0
ที่นั่งเปลี่ยน ลดลง1 ลดลง1 ลดลง2

นายกรัฐมนตรีก่อนการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช
กิจสังคม

นายกรัฐมนตรีหลังการเลือกตั้ง

หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช
ประชาธิปัตย์

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2519 เป็นส่วนหนึ่งของการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2519 กำหนดให้มีขึ้นในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2519 โดยแบ่งเขตการเลือกตั้งออกเป็น 2 เขตเลือกตั้ง มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้ 6 คน จำนวนที่นั่งเท่าเดิมจากการเลือกตั้งครั้งก่อนเมื่อ พ.ศ. 2518 แต่ละเขตเลือกตั้งจะมีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรได้เขตละ 3 คน[1]

ภาพรวม

ผลการเลือกตั้งแบบแบ่งเขต

เขต 1เขต 2

สัญลักษณ์และความหมาย
* ส.ส.ระบบเขตเลือกตั้งที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
** ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อที่ได้รับเลือกตั้งในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา
ผู้สมัครที่ถูกตัดสิทธิ์
ผู้สมัครที่เคยดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมาแล้ว
( ) หมายเลขประจำตัวของผู้สมัคร
ตัวหนา ผู้สมัครที่ชนะการเลือกตั้ง

เขตเลือกตั้งที่ 1

เขตการเลือกตั้งที่ 1 ประกอบด้วยอำเภอศีขรภูมิ, อำเภอชุมพลบุรี, อำเภอท่าตูม, อำเภอรัตนบุรี, อำเภอจอมพระ, อำเภอสำโรงทาบ และกิ่งอำเภอสนม

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 1 จังหวัดสุรินทร์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
พลังใหม่ สุจินต์ อิ่มอรุณรักษ์ (12) 29,216
กิจสังคม สมัคร เจริญรัตน์ (11)* 20,047
ธรรมาธิปไตย อร่าม อามระดิษ (20) 19,107
กิจสังคม บุญเกิด นากดี (10)* 16,799
ชาติไทย มงคล ตีรวัฒนประภา (31) 16,724
ธรรมสังคม บุญติด สุรประพจน์ (2) 15,488
เกษตรกร (พ.ศ. 2517) สมัย ลักขษร (4) 12,690
ธรรมสังคม สุเมตต์ จึงมั่นคง (1) 11,016
ธรรมาธิปไตย บุญถึง สะอาดยิ่ง (21) 10,204
ชาติไทย กระจ่าง เล้าสุวรรณ (23) 7,921
ธรรมาธิปไตย เยี่ยม หลักฐาน (22) 7,437
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) วิศิษฐ์ พิพัฒนฑรคานนท์ (6) 5,393
พลังใหม่ จรัส หนูพันธ์ (13) 4,757
แนวร่วมประชาธิปไตย ปราโมทย์ ไพชนม์ (14) 4,700
ประชาธิปัตย์ ณรงค์ ร่วมยอด (18) 4,413
ประชาธิปัตย์ สมพงษ์ สุขแก้ว (19) 4,354
ประชาธิปัตย์ สมศักดิ์ สานุสันต์ (17) 4,350
สังคมชาตินิยม สาย บุญสรรค์ (24) 3,994
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย กิตติ วัฒนกุล (7) 3,793
พิทักษ์ไทย สง่า เส้นทอง (27) 3,577
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) เรียน ทองงาม (16) 3,333
กิจสังคม คำ คงจันทร์ (15)* 3,048
พลังใหม่ นุศิษฎ์ จินดาศรี (25) 2,838
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย พิเชฐ ชัยพร (9) 2,639
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย สัมฤทธิ์ สายเพชร (8) 1,795
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) สิน ดุสิตสิน (5)✔ 1,793
พิทักษ์ไทย จตุพร เกษมสุข (30) 1,561
ไทสังคม อุทัย สุนทรเมธี (3) 1,489
พิทักษ์ไทย ประพัฒน์ จงใจรักษ์ (26) 1,129
แนวร่วมสังคมนิยม สุธา ภูวพันธุ์ (28) 724
แนวร่วมสังคมนิยม สง่า บุญช่วย (29) 501
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
พลังใหม่ ได้ที่นั่งจาก ประชาธรรม (พ.ศ. 2517)
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ประชาธรรม (พ.ศ. 2517)
ธรรมาธิปไตย ได้ที่นั่งจาก ประชาธิปัตย์

เขตเลือกตั้งที่ 2

เขตการเลือกตั้งที่ 2 ประกอบด้วยอำเภอเมืองสุรินทร์, อำเภอปราสาท, อำเภอสังขะ และกิ่งอำเภอกาบเชิง

ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เขต 2 จังหวัดสุรินทร์
พรรค ผู้สมัคร คะแนนเสียง % ±
กิจสังคม จินตนา เรืองกาญจนเศรษฐ์ (18) 37,417
กิจสังคม มานะ ทิพยาภรณ์ (10) 30,261
สังคมก้าวหน้า ญาติ ไหวดี (7)✔ 21,707
แนวร่วมสังคมนิยม สุธี ภูวพันธุ์ (1)* 17,949
กิจสังคม เหลื่อม พันธ์ฤกษ์ (11)✔ 17,522
ประชาธิปัตย์ มะลิวัลย์ สวันตรัจน์ (8) 12,878
เกษตรสังคม อรัญ อินทรนุช (14) 10,669
ธรรมาธิปไตย ชัย แอกทอง (21) 9,974
ชาติไทย ศรพินท์ ชื่นเย็น (20) 8,147
ธรรมสังคม รามิศร ภัทรพานี (13)* 8,085
ประชาธิปัตย์ สี มุลาลินน์ (9) 7,462
ธรรมสังคม รัตน์ มูลศาสตร์ (12) 7,373
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย ศิริ ผาสุก (3)* 6,527
แนวร่วมประชาธิปไตย สายใจ ดุลยสุคนธรักษ์ (19) 5,942
แนวร่วมสังคมนิยม พิมพ์พรรณ ภูวพันธุ์ (2) 5,682
พลังใหม่ เชื้อ ไทยยิ่ง (6) 5,443
พลังใหม่ มงคล บานเย็น (17) 4,034
ชาติไทย สิบตรี วิชัย ปรีชาธรรม (24) 3,448
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย นพปฎล เสาสูง (5) 3,238
สังคมนิยมแห่งประเทศไทย อรุณ กิ่งจันทร์ (4) 2,883
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) วรรณี ศรีสุรินทร์ (16) 2,366
ชาติไทย สิบเอก เที่ยง แสนกล้า (27) 1,812
สันติชน พิชิต แสนกล้า (28) 1,568
พลังประชาชน (พ.ศ. 2517) ชาญ พูนสารคุณ (15) 1,405
พลังเสรี ยุทธ มีศิริ (26) 968
ธรรมาธิปไตย มณเฑียร เหลืองจรัสสุริยา (22) 958
สังคมก้าวหน้า เนย เล้นแก้วใส (25) 895
ธรรมาธิปไตย ไพศาล กนกนาก (23) 836
บัตรดี
ไม่ประสงค์ลงคะแนน
บัตรเสีย
ผู้มาใช้สิทธิเลือกตั้ง
ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก แนวร่วมสังคมนิยม
กิจสังคม ได้ที่นั่งจาก ธรรมสังคม
สังคมก้าวหน้า ได้ที่นั่งจาก สังคมนิยมแห่งประเทศไทย

ดูเพิ่ม

อ้างอิง

  1. รายงานผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ๔ เมษายน ๒๕๑๙ (วิจัย ๑). กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. 2519

 

Prefix: a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

Portal di Ensiklopedia Dunia