ไทยพรีเมียร์ลีก 2553 (รู้จักกันในชื่อ สปอนเซอร์ไทยพรีเมียร์ลีก จากการเป็นผู้สนับสนุน) โดยเป็นไทยพรีเมียร์ครั้งที่ 14 นับตั้งแต่เริ่มการแข่งขันในปี พ.ศ. 2539 ประกอบด้วย 16 สโมสร เข้าร่วมการแข่งขัน โดยเมืองทองฯ ยูไนเต็ด เป็นแชมป์เก่าเมื่อฤดูกาลที่ผ่านมา
สโมสร
ศรีราชา, จุฬาฯ ยูไนเต็ด และ นครปฐม ตกชั้นสู่ ไทยลีกดิวิชัน 1 2553 หลังจบการแข่งขัน ไทยพรีเมียร์ลีก 2552 เป็นสามอันดับสุดท้าย
โดยสามทีมที่ตกชั้นถูกแทนที่โดยทีมจากไทยลีกดิวิชัน 1 2552 คือ ทีมชนะเลิศ เพื่อนตำรวจ, รองชนะเลิศ ทหารบก และ อันดับสาม ศรีสะเกษ
ทีทีเอ็ม สมุทรสาคร และ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ได้เปลี่ยนชื่อเป็น ทีทีเอ็ม พิจิตร และ บุรีรัมย์-การไฟฟ้า, โดยย้ายที่ตั้งไปที่ พิจิตร และ บุรีรัมย์ โดย การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เปลี่ยนชื่อหลังจากการเข้าครอบครองสโมสร โดย เนวิน ชิดชอบ
สนามเหย้า และ ที่ตั้ง
ที่ตั้งของสโมสรในไทยพรีเมียร์ลีก 2553
สโมสรฟุตบอลในกรุงเทพฯและปริมณฑล
ทีม
|
ที่ตั้ง
|
สนามเหย้า
|
ความจุ (โดยประมาณ)
|
บางกอกกล๊าส
|
ปทุมธานี
|
ลีโอ สเตเดียม
|
7,500
|
แบงค็อก ยูไนเต็ด
|
กรุงเทพมหานคร
|
สนามกีฬา ไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง
|
10,000
|
บีอีซี เทโรศาสน
|
กรุงเทพมหานคร
|
สนามฟุตบอลเทพหัสดิน
|
6,500
|
บุรีรัมย์-การไฟฟ้า
|
บุรีรัมย์
|
ไอ-โมบาย สเตเดี้ยม
|
15,000
|
ชลบุรี
|
ชลบุรี
|
สนามสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชลบุรี
|
12,000
|
เมืองทองฯ ยูไนเต็ด
|
นนทบุรี
|
ยามาฮ่า สเตเดียม
|
18,000
|
โอสถสภา เอ็ม–150 สระบุรี
|
สระบุรี
|
สนามกีฬากลางจังหวัดสระบุรี
|
8,533
|
พัทยา ยูไนเต็ด
|
ชลบุรี
|
สนามเทศบาลเมืองหนองปรือ
|
7,000
|
อินทรีเพื่อนตำรวจ
|
ปทุมธานี
|
สนามฟุตบอลธรรมศาสตร์ รังสิต
|
25,000
|
ราชนาวี-ระยอง
|
ระยอง
|
สนามกีฬากลางจังหวัดระยอง
|
14,000
|
ทหารบก
|
กรุงเทพมหานคร
|
สนามกีฬากองทัพบก
|
15,000
|
สมุทรสงคราม
|
สมุทรสงคราม
|
สนามกีฬากลางจังหวัดสมุทรสงคราม
|
6,965
|
ศรีสะเกษ
|
ศรีสะเกษ
|
สนามศรีนครลำดวน
|
15,877
|
การท่าเรือไทย
|
กรุงเทพมหานคร
|
แพตสเตเดียม
|
13,174
|
ทีโอที-แคท
|
กรุงเทพมหานคร
|
สนามทีโอที แจ้งวัฒนะ
|
5,439
|
ทีทีเอ็ม พิจิตร
|
พิจิตร
|
สนามกีฬากลางจังหวัดพิจิตร
|
15,112
|
การเปลี่ยนแปลงตำแหน่งหัวหน้าผู้ฝึกสอน
การเปลี่ยนแปลงเจ้าของสโมสร
ตารางคะแนน
อัปเดต วันที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2553
เพลย์ออฟ
เพลย์ออฟ ระหว่าง ไทยลีก และ ดิวิชั่น 1
สาย เอ
1 สโมสรนครปฐม ถูกสั่งห้ามลงแข่งขันทุกรายการของ สมาคมฟุตบอลแห่งประเทศไทย เป็นเวลา 2 ปี จาก เหตุแฟนบอลสโมสรฟุตบอลนครปฐมทำร้ายผู้ตัดสิน พ.ศ. 2553[10]
สาย บี
รางวัล
ประจำเดือน
ยามาฮ่า เพลเยอร์ แอนด์ เมเนเจอร์ ออฟ เดอะ มั้นท์
ตามูโด้ ไทยแลนด์สู้สู้ อะวอร์ด
ออลสตาร์ ไทยพรีเมียร์ลีก
หมายเหตุ: ธงชาติที่ปรากฏบ่งบอกให้ทราบว่าผู้เล่นคนนั้นสามารถเล่นให้กับชาติใดตามกฎของฟีฟ่าตามความเหมาะสม เพราะผู้เล่นบางคนอาจถือสองสัญชาติ
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น