โครงการอาร์ทิมิส ประเทศ สหรัฐอเมริกา องค์กร NASA และพันธมิตร: ESA , JAXA , DLR , ASI , ISA , MBRSC และ CSA วัตถุประสงค์ การสำรวจดวงจันทร์โดยมีลูกเรือ สถานะ กำลังดำเนินการ ประวัติโครงการ ค่าใช้จ่าย 93+ พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2012–2025), 53 พันล้านดอลลาร์สหรัฐในช่วง 2021-2025[ 1] ระยะเวลา 2017; 8 ปีที่แล้ว (2017 ) –ปัจจุบัน[ 2] เที่ยวบินแรก อาร์ทิมิส I (16 พฤศจิกายน 2022, 06:47:44 UTC)[ 3] [ 4] เที่ยวบินแรกที่มีลูกเรือ อาร์ทิมิส 2 (NET เมษายน 2026)[ 5] สถานที่ปล่อย ข้อมูลยานพาหนะ ยานพาหนะมีคนขับ ความจุลูกเรือ 4[ 6] ยานพาหนะที่ปล่อย
โครงการอาร์ทิมิส (อังกฤษ : Artemis program ) เป็นโครงการการบินอวกาศของมนุษย์ระดับนานาชาติที่นำโดยสหรัฐ มีเป้าหมายหลักคือการส่งมนุษย์กลับคืนสู่ดวงจันทร์ (โดยเฉพาะขั้วใต้ของดวงจันทร์) ภายใน พ.ศ. 2567[ 2] [ 10] หากสำเร็จ จะเป็นภารกิจลงจอดบนดวงจันทร์ครั้งแรกนับตั้งแต่อะพอลโล 17 ใน พ.ศ. 2515 ซึ่งเป็นเที่ยวบินไปดวงจันทร์ครั้งสุดท้ายของโครงการอะพอลโล
โครงการอาร์ทิมิสเริ่มต้นในเดือนธันวาคม พ.ศ. 2560 โดยเป็นการปรับโครงสร้างองค์กรและความพยายามอย่างต่อเนื่องในการฟื้นฟูโครงการอวกาศของสหรัฐ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2552 เป้าหมายระยะสั้นที่ระบุไว้คือการพาผู้หญิงคนแรกลงเหยียบบนพื้นดวงจันทร์ วัตถุประสงค์ระยะกลางเป็นการจัดตั้งทีมสำรวจระหว่างประเทศและการตั้งฐานของมนุษย์อย่างยั่งยืนบนดวงจันทร์ วัตถุประสงค์ระยะยาวคือการวางรากฐานสำหรับบริษัทเอกชนในการสร้างเศรษฐกิจดวงจันทร์ และสุดท้ายการทำภารกิจโดยลูกเรือเพื่อไปยังดาวอังคารและไกลกว่านั้น[ 11]
โครงการอาร์ทิมิสดำเนินการโดยนาซา และผู้รับเหมาการบินอวกาศเชิงพาณิชย์ของสหรัฐ โดยร่วมมือกับองค์การอวกาศยุโรป และหน่วยงานด้านอวกาศของประเทศอื่นๆ[ a] ประเทศอื่น ๆ ได้รับเชิญให้เข้าร่วมโครงการผ่านการลงนามในข้อตกลงอาร์ทิมิส ซึ่งเปิดให้ลงนามตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2563
หมายเหตุ
อ้างอิง
↑ NASA Office of Inspector General (15 November 2021). NASA's Management of the Artemis Missions (PDF) (Report). NASA . p. 21. สืบค้นเมื่อ 18 January 2023 . To account for all Artemis costs for FYs 2021 through 2025, including Phase 2 projects like the SLS Block 1B, Mobile Launcher 2, and Gateway, we found that $25 billion should be added to the Artemis Plan's estimated costs, increasing the total costs over this 5-year period to $53 billion. Furthermore, when considering the $40 billion already spent on the Artemis mission from FYs 2012 to 2020, the total projected cost through FY 2025 becomes $93 billion.
↑ 2.0 2.1 "NASA: Moon to Mars" . nasa.gov . NASA. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 5 August 2019. สืบค้นเมื่อ 19 May 2019 .
↑ Artemis I Launch to the Moon (Official NASA Broadcast) - Nov. 16, 2022 (ภาษาอังกฤษ), 16 พฤศจิกายน 2022, สืบค้นเมื่อ 2022-11-16
↑ "NASA Prepares Rocket, Spacecraft Ahead of Tropical Storm Nicole, Re-targets Launch" . NASA . 8 พฤศจิกายน 2022. สืบค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2022 .
↑ Smith, Marcia (9 January 2024). "NASA Delays Next Artemis Missions to 2025 and 2026" . SpacePolicyOnline . สืบค้นเมื่อ 10 January 2024 .
↑ Orion Components (ภาษาอังกฤษ), 27 กุมภาพันธ์ 2024, สืบค้นเมื่อ 2024-06-18
↑ Gebhardt, Chris (6 เมษายน 2017). "NASA finally sets goals, missions for SLS — multi-step plan to Mars" . NASASpaceFlight.com. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 21 สิงหาคม 2017. สืบค้นเมื่อ 21 สิงหาคม 2017 .
↑ NASA (17 พฤศจิกายน 2022). "Gateway: overview" . NASA. สืบค้นเมื่อ 6 มีนาคม 2023 .
↑ Grush, Loren (18 กรกฎาคม 2019). "NASA's daunting to-do list for sending people back to the Moon" . The Verge. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 7 ธันวาคม 2019. สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2019 .
↑ Berger, Eric (20 May 2020). "NASA's full Artemis plan revealed: 37 launches and a lunar outpost" . Ars Technica. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 23 May 2019. สืบค้นเมื่อ 24 May 2020 .
↑ "NASA: Artemis Accords" . nasa.gov . NASA. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 16 May 2020. สืบค้นเมื่อ 16 May 2020 .
↑ "NASA signs agreement with Italy to cooperate on Artemis" . SpaceNews. 25 September 2020. สืบค้นเมื่อ 30 September 2020 .[ลิงก์เสีย ]
↑ Potter, Sean (13 October 2020). "NASA, International Partners Advance Cooperation with Artemis Accords" . NASA . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 19 February 2021. สืบค้นเมื่อ 16 March 2021 .
↑ "NASA Gains Broad International Support for Artemis Program at IAC" . nasa.gov . NASA. 8 November 2019. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 28 July 2020. สืบค้นเมื่อ 24 May 2020 .
↑ "Brazil Signs Artemis Accords" . NASA.gov . 15 June 2021. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 15 June 2021. สืบค้นเมื่อ 15 June 2021 .
↑ Potter, Sean (27 May 2021). "Republic of Korea Joins List of Nations to Sign Artemis Accords" . NASA . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 27 May 2021. สืบค้นเมื่อ 27 May 2021 .
↑ "NASA.gov" . 31 May 2021. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ 1 June 2021. สืบค้นเมื่อ 1 June 2021 .
แหล่งข้อมูลอื่น
ภารกิจ
หน่วยงาน สิ่งอำนวยความสะดวก จรวด ยานอวกาศที่มีลูกเรือ ยานอวกาศหุ่นยนต์