คันธาระตอนเหนือในแผนที่เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19
ภาพถ่ายดาวเทียมของคันธาระในปัจจุบัน (ตุลาคม ค.ศ. 2020)
คันธาระ (อักษรโรมัน : Gandhāra) เป็นแคว้นสมัยโบราณที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ปากีสถาน ตะวันตกเฉียงเหนือและบางส่วนของอัฟกานิสถาน ตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน ในบริเวณรอบนอกของอนุทวีปอินเดีย ตะวันตกเฉียงเหนือ[ 1] [ 2] [ 3] มีจุดศุนย์กลางรอบหุบเขาเปศวาร์ และหุบเขาสวัต แม้ว่าอิทธิพลทางวัฒนธรรมของ "Greater Gandhara" ขยายไปทั่วแม่น้ำสินธุถึงแคว้นตักศิลา ในที่ราบสูงโปโตฮาร์ และทางตะวันตกถึงหุบเขาคาบูล ในอัฟกานิสถาน และทางเหนือถึงเทือกเขาการาโกรัม [ 4] [ 5] [ 6]
การมีตัวตนของแคว้นคันธาระได้รับการยืนยันตั้งแต่สมัยฤคเวท (ป. 1500 – 1200 ปีก่อน ค.ศ. )[ 7] [ 8] และปรากฏในอเวสตะ ของโซโรอัสเตอร์ ซึ่งระบุเป็น Vaēkərəta สถานที่ที่สวยงามมากเป็นอันดับ 6 ของโลกที่สร้างโดยพระอหุระมาซดะ จากนั้นจึงเป็นหนึ่งใน 16 มหาชนบท ในสมัยพระเวท [ 1] [ 2] [ 3] โดยเป็นศูนย์กลางของศาสนาพระเวท และภายหลังก่อให้เกิดศาสนาฮินดู มีการระบุชื่อคันธาระในมหากาพย์พระเวทหลายแห่ง เช่น ฤคเวท , รามายณะ และมหาภารตะ โดยเป็นที่ประทับของพระนางคานธารี เจ้าหญิงแห่งอาณาจักรคันธาระ [ 9]
อาณาจักรคันธาระ ในยุคเหล็ก กลายเป็นมหาอำนาจในสมัย Pushkarasarin เมื่อประมาณ 550 ปีก่อน ค.ศ.[ 10] คันธาระถูกพิชิตจากจักรวรรดิอะคีเมนิดในศตวรรษที่ 6 ก่อน ค.ศ. อเล็กซานเดอร์มหาราช ใน 327 ปีก่อน ค.ศ. และภายหลังกลายเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเมารยะ ก่อนกลายเป็นศูนย์กลางของอาณาจักรอินโด-กรีก แคว้นนี้เคยเป็นศูนย์กลางของศาสนาพุทธแบบกรีก ของอาณาจักรอินโด-กรีกและศาสนาพุทธแบบคันธาระ ในราชวงศ์ยุคหลัง เช่น อินโด-ไซเทีย , อินโด-พาร์เทีย และจักรวรรดิกุษาณะ คันธาระก็ยังเป็นศูนย์กลางของการเผยแผ่ศาสนาพุทธเข้าสู่เอเชียกลางและเอเชียตะวันออก[ 11]
แคว้นนี้เสี่อมถอยอย่างต่อเนื่องหลังการรุกรานอย่างรุนแรงโดยAlchon Huns ในคริสต์ศตวรรษที่ 6 และชื่อคันธาระหายไปจากแผนที่หลังการพิชิตของแมฮ์มูด แฆซแนวี ใน ค.ศ. 1001[ 12]
อ้างอิง
↑ 1.0 1.1 Kulke, Professor of Asian History Hermann; Kulke, Hermann; Rothermund, Dietmar (2004). A History of India (ภาษาอังกฤษ). Psychology Press. ISBN 978-0-415-32919-4 .
↑ 2.0 2.1 Warikoo, K. (2004). Bamiyan: Challenge to World Heritage (ภาษาอังกฤษ). Third Eye. ISBN 978-81-86505-66-3 .
↑ 3.0 3.1 Hansen, Mogens Herman (2000). A Comparative Study of Thirty City-state Cultures: An Investigation (ภาษาอังกฤษ). Kgl. Danske Videnskabernes Selskab. ISBN 978-87-7876-177-4 .
↑ Neelis, Early Buddhist Transmission and Trade Networks 2010 , p. 232. sfn error: no target: CITEREFNeelis,_Early_Buddhist_Transmission_and_Trade_Networks2010 (help )
↑ Eggermont, Alexander's Campaigns in Sind and Baluchistan 1975 , pp. 175–177. sfn error: no target: CITEREFEggermont,_Alexander's_Campaigns_in_Sind_and_Baluchistan1975 (help )
↑ Badian, Ernst (1987), "Alexander at Peucelaotis", The Classical Quarterly , 37 (1): 117–128, doi :10.1017/S0009838800031712 , JSTOR 639350 , S2CID 246878679
↑ "Rigveda 1.126:7, English translation by Ralph TH Griffith" .
↑ Arthur Anthony Macdonell (1997). A History of Sanskrit Literature . Motilal Banarsidass. pp. 130–. ISBN 978-81-208-0095-3 .
↑ * Schmidt, Karl J. (1995). An Atlas and Survey of South Asian History , p.120: "In addition to being a center of religion for Buddhists, as well as Hindus, Taxila was a thriving center for art, culture, and learning."
Srinivasan, Doris Meth (2008). "Hindu Deities in Gandharan art," in Gandhara, The Buddhist Heritage of Pakistan: Legends, Monasteries, and Paradise , pp.130-143: "Gandhara was not cut off from the heartland of early Hinduism in the Gangetic Valley. The two regions shared cultural and political connections and trade relations and this facilitated the adoption and exchange of religious ideas. [...] It is during the Kushan Era that flowering of religious imagery occurred. [...] Gandhara often introduced its own idiosyncratic expression upon the Buddhist and Hindu imagery it had initially come in contact with."
Blurton, T. Richard (1993). Hindu Art , Harvard University Press: "The earliest figures of Shiva which show him in purely human form come from the area of ancient Gandhara" (p.84) and "Coins from Gandhara of the first century BC show Lakshmi [...] four-armed, on a lotus." (p.176)
↑ Prakash, Buddha (1951). "Poros" . Annals of the Bhandarkar Oriental Research Institute . 32 (1): 198–233. JSTOR 41784590 . สืบค้นเมื่อ 12 June 2022 .
↑ "UW Press: Ancient Buddhist Scrolls from Gandhara" . Retrieved April 2018.
↑ Mohiuddin, Yasmeen Niaz (2007). Pakistan: A Global Studies Handbook (ภาษาอังกฤษ). ABC-CLIO. ISBN 9781851098019 .
ดร.สุชาติ หงษา. ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาจากอดีตสู่ปัจจุบัน . [ม.ป.ท.] : [ม.ป.พ.], [ม.ป.ป.]. หน้า 49.
แหล่งข้อมูลอื่น
เส้นเวลาและ วัฒนธรรม
อินเดียตะวันตกเฉียงเหนือ (ปัญจาบ -สัปตสินธุ )
ที่ราบลุ่มแม่น้ำสินธุ-คงคา
อินเดียกลาง
อินเดียใต้
ที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคาตอนบน (doab คงคา-ยมุนา )
ที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคาตอนกลาง
ที่ราบลุ่มแม่น้ำคงคาตอนล่าง
ยุคเหล็ก
วัฒนธรรม
สมัยพระเวท ตอนปลาย
สมัยพระเวท ตอนปลาย (วัฒนธรรม Srauta )[ a] วัฒนธรรมเครื่องเคลือบสีเทา
สมัยพระเวท ตอนปลาย (วัฒนธรรมสมณะ )[ b] เครื่องเคลือบสีดำตอนเหนือ
ก่อนประวัติศาสตร์
ศตวรรษที่ 6 ก่อน ค.ศ.
คันธาระ
กุรุ -ปัญจาละ
มคธ
อาทิวาสี (เผ่า)
Assaka
วัฒนธรรม
อิทธิพลเปอร์เซีย-กรีก
"การขยายเขตเมืองครั้งที่สอง " จุดรุ่งเรืองของขบวนการสมณะ ศาสนาเชน - ศาสนาพุทธ - Ājīvika - โยคะ
ก่อนประวัติศาสตร์
ศตวรรษที่ 5 ก่อน ค.ศ.
(การพิชิตของเปอร์เซีย )
ราชวงศ์ศิศุนาค
อาทิวาสี (เผ่า)
Assaka
ศตวรรษที่ 4 ก่อน ค.ศ.
(การพิชิตของกรีก )
จักรวรรดินันทะ
สมัยประวัติศาสตร์
วัฒนธรรม
การเผยแผ่ศาสนาพุทธ
ก่อนประวัติศาสตร์
ศตวรรษที่ 3 ก่อน ค.ศ.
จักรวรรดิเมารยะ
ราชวงศ์สาตวาหนะ Sangam period (300 ปีก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 200)โจฬะตอนต้น ราชอาณาจักรปัณฑยะตอนต้น เจระ
วัฒนธรรม
ฮินดูก่อนคลาสสิก [ c] - "ฮินดูสังเคราะห์" [ d] (ประมาณ 200 ปีก่อน ค.ศ. - ค.ศ. 300)[ e] [ f] มหากาพย์ - ปุราณะ - รามายณะ - มหาภารตะ - ภควัตคีตา - พรหมสูตร - Smarta Tradition พุทธมหายาน
ศตวรรษที่ 2 ก่อน ค.ศ.
อาณาจักรอินโด-กรีก
จักรวรรดิศุงคะ Maha-Meghavahana Dynasty
ราชวงศ์สาตวาหนะ Sangam period (300 ปีก่อน ค.ศ. – ค.ศ. 200)โจฬะตอนต้น ราชอาณาจักรปัณฑยะตอนต้น เจระ
ศตวรรษที่ 1 ก่อน ค.ศ.
คริสต์ศตวรรษที่ 1
อินโด-ไซเทีย
อินโด-พาร์เทีย
ราชอาณาจักรกุนินทะ
คริสต์ศตวรรษที่ 2
จักรวรรดิกุษาณะ
คริสต์ศตวรรษที่ 3
ราชอาณาจักรกุษาณะ-ซาเซเนียน
จักรวรรดิกุษาณะ
เซแทร็ปตะวันตก
ราชอาณาจักร Kamarupa
อาทิวาสี (เผ่า)
วัฒนธรรม
"ยุคทองของศาสนาฮินดู" (ปรพมาณ ค.ศ. 320-650)[ g] ปุราณะ การอยู่ร่วมกันระหว่างศาสนาฮินดูและพุทธ
คริสต์ศตวรรษที่ 4
Kidarites
จักรวรรดิคุปตะ ราชวงศ์วารมัน
Andhra Ikshvakus Kalabhra dynasty ราชวงศ์กทัมพะ ราชวงศ์คงคาตะวันตก
คริสต์ศตวรรษที่ 5
จักรวรรดิเฮฟทาไลต์
อัลชอนฮัน
Vishnukundina Kalabhra dynasty
คริสต์ศตวรรษที่ 6
เนซักฮัน คาบูลชาฮี
Maitraka
อาทิวาสี (เผ่า)
Vishnukundina Badami Chalukyas Kalabhra dynasty
วัฒนธรรม
ฮินดูคลาสสิกตอนปลาย (ประมาณ ค.ศ. 650-1100)[ h] Advaita Vedanta - ตันตระ การเสื่อมถอยของศาสนาพุทธในอินเดีย
คริสต์ศตวรรษที่ 7
อินโด-ซาเซเนียน
Vakataka dynasty จักรวรรดิหรรษวรรธนะ
Mlechchha dynasty
อาทิวาสี (เผ่า)
Badami Chalukyas จาลุกยะตะวันออก ราชอาณาจักรปัณฑยะ (ฟื้นฟู) ปัลลวะ
คริสต์ศตวรรษที่ 8
คาบูลชาฮี
จักรวรรดิปาละ
จาลุกยะตะวันออก ราชอาณาจักรปัณฑยะ Kalachuri
คริสต์ศตวรรษที่ 9
Gurjara-Pratihara
Rashtrakuta dynasty จาลุกยะตะวันออก ราชอาณาจักรปัณฑยะ โจฬะตอนกลาง Chera Perumals of Makkotai
คริสต์ศตวรรษที่ 10
กาสนาวิยะห์
ราชวงศ์ปาละ ราชวงศ์ Kamboja-ปาละ
กัลยาณีจาลุกยะ จาลุกยะตะวันออก โจฬะตอนกลาง Chera Perumals of Makkotai ราษฏรกูฏ
References and sources for table
อ้างอิง
↑ Samuel
↑ Samuel
↑ Michaels (2004) p.39
↑ Hiltebeitel (2002)
↑ Michaels (2004) p.39
↑ Hiltebeitel (2002)
↑ Michaels (2004) p.40
↑ Michaels (2004) p.41
ข้อมูล
Flood, Gavin D. (1996), An Introduction to Hinduism , Cambridge University Press
Hiltebeitel, Alf (2002), Hinduism. In: Joseph Kitagawa, "The Religious Traditions of Asia: Religion, History, and Culture" , Routledge
Michaels, Axel (2004), Hinduism. Past and present , Princeton, New Jersey: Princeton University Press
Samuel, Geoffrey (2010), The Origins of Yoga and Tantra. Indic Religions to the Thirteenth Century , Cambridge University Press
นานาชาติ ประจำชาติ ภูมิศาสตร์ อื่น ๆ
33°45′22″N 72°49′45″E / 33.7560°N 72.8291°E / 33.7560; 72.8291