เรียลกัมพูชา |
---|
สัญลักษณ์เงินเรียล | | ISO 4217 |
---|
รหัส | KHR |
---|
การตั้งชื่อ |
---|
หน่วยย่อย | |
---|
1/10 | กาค (កាក់ kăk) (ไม่ใช้แล้ว) |
---|
1/100 | เซน (សេន sén) (ไม่ใช้แล้ว) |
---|
สัญลักษณ์ | ៛ |
---|
ธนบัตร | |
---|
ใช้บ่อย | 100, 200, 500, 1,000, 2,000, 5,000, 10,000, 20,000, 50,000 เรียล |
---|
ไม่ค่อยใช้ | 50 (ไม่ตีพิมพ์แล้ว แต่ยังคงใช้ชำระหนี้ได้ตามกฎหมาย); 15,000, 30,000, 100,000 เรียล (ธนบัตรที่ระลึก) |
---|
เหรียญ | |
---|
ไม่ค่อยใช้ | 50, 100, 200, 500 เรียล |
---|
ข้อมูลการใช้ |
---|
ผู้ใช้ | กัมพูชา |
---|
การตีพิมพ์ |
---|
ธนาคารกลาง | ธนาคารแห่งชาติกัมพูชา |
---|
เว็บไซต์ | www.nbc.org.kh |
---|
การประเมินค่า |
---|
อัตราเงินเฟ้อ | 1.4% |
---|
ที่มา | The World Factbook, 2015 est. |
---|
ผูกค่ากับ | ดอลลาร์สหรัฐที่ 1 USD ≈ 4,100 KHR |
---|
เรียล (เขมร: រៀល, อักษรโรมัน: riĕl, [riəl]; สัญลักษณ์: ៛; รหัส: KHR) เป็นสกุลเงินของประเทศกัมพูชา ได้มีสกุลเงินเรียลสองตัวที่แตกต่างกัน โดยแบบแรกตีพิมพ์ในช่วง ค.ศ. 1953 ถึงพฤษภาคม ค.ศ. 1975 ส่วนระหว่าง ค.ศ. 1975 ถึง 1980 ประเทศไม่มีระบบการเงิน หลังจากนั้น สกุลเงินที่สองซึ่งมีชื่อว่า "เรียล" ได้รับการออกให้ตั้งแต่วันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1980 นับตั้งแต่คริสต์ทศวรรษ 1990 พลเมืองใช้สกุลเงินเรียลควบกับดอลลาร์สหรัฐในอัตรา 4,000 KHR/USD สำหรับการชำระเงินรายย่อย[1]
ความเชื่อที่นิยมเชื่อกันแสดงให้เห็นว่าชื่อของสกุลเงินมาจากปลาแม่น้ำโขง คำว่า "เรียล" (แปลว่า "ปลาเล็ก" ในภาษาเขมร) มีความเป็นไปได้มากกว่าที่ชื่อดังกล่าวมาจากเงินระดับสูงที่เป็นสกุลเงินของดอลลาร์สเปน-อเมริกันที่มีค่า 8 เรอัล ซึ่งเป็นสกุลเงินที่ใช้งานในการค้าระหว่างประเทศในเอเชียและทวีปอเมริกาช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 16 ถึง 19[2]
ประวัติ
เงินกัมพูชาโบราณ
ก่อนปี พ.ศ. 2418 สกุลเงินของกัมพูชามีมูลค่าคล้ายระบบของไทย เนื่องอาณาจักรเขมรละแวก (สมัยละแวก) จนถึงอาณาจักรเขมรอุดง (สมัยอุดง) ได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรอยุธยาจนถึงอาณาจักรรัตนโกสินทร์เป็นอย่างมาก
หน่วยเงิน |
มูลค่า |
หมายเหตุ
|
1 ตำลึง (តំឡឹង) |
4 เรียล |
|
1 เรียล |
4 สลึง (ស្លឹង) |
|
1 สลึง (ស្លឹង) |
1/4 เรียล |
|
1 เฟื้อง (ហ្វឿង) |
1/8 เรียล |
|
1 อัฐ (សាត) |
1/64 เรียล |
|
1 โสฬส หรือ โสฬศ (សូឡូត) |
1/128 เรียล |
|
ในช่วงรัชสมัยนักองค์ด้วงจนถึงพระนโรดมได้มีการใช้เหรียญเงินเป็นครั้งแรก
อย่างไรก็ตาม ผลจากการแทรกแซงของฝรั่งเศสในภูมิภาค ทำให้ค่านิยมในกัมพูชาถูกแทนที่ด้วยเงินฟรังก์กัมพูชา
ฟรังก์กัมพูชา
เมื่อกัมพูชาตกเป็นอาณานิคมฝรั่งเศส ฟรังก์ได้เป็นสกุลเงินของกัมพูชา ระหว่างปี พ.ศ. 2418 ถึง พ.ศ. 2428 ซึ่งเท่ากับ ฟรังก์ฝรั่งเศส และแบ่งย่อยออกเป็น 100 เซนต์ ในทำนองเดียวกัน โดยมาแทนที่เงินกัมพูชาโบราณ
เรียลรุ่นแรก
เมื่อกัมพูชาได้รับเอกราชจากฝรั่งเศส กัมพูชาได้ประกาศใช้เงินเรียลอย่างเป็นทางการเป็นครั้งแรก ต่อมาเมื่อเขมรแดงยึดอำนาจได้ประกาศยกเลิกระบบเงินตรา ทำให้ระหว่าง ค.ศ. 1975 ถึง 1980 กัมพูชาไม่มีระบบการเงินใช้ เมื่อเขมรแดงหมดอำนาจทำให้ระบบเงินตราได้รับการฟื้นฟูในเวลาต่อมา
เรียลที่สอง (ค.ศ. 1980–ปัจจุบัน)
ธนบัตร
ธนบัตรที่ใช้ในปัจจุบันประกอบด้วย ชนิดราคา 100, 200, 500, 1000, 2000, 5000, 10000, 20000 และ 50000 เรียล [3]
- 100 เรียล (2001-08-09 และ 2015-01-14)
- 200 เรียล (2022-11-14)
- 500 เรียล (2002-04-04 และ 2014-01-14)
- 1,000 เรียล (2006-01-06 และ 2017-10-25)
- 2,000 เรียล (2008-01-03 และ 2022-11-14)
- 5,000 เรียล (2001-04-06 และ 2017-10-25)
- 10,000 เรียล (2001-04-06 และ 2015-05-07)
- 20,000 เรียล (2008-05-12 และ 2018)
- 50,000 เรียล (2001-04-06 และ 2014-05-06)
- 100,000 เรียล (2013-05-14)[4]
ภาพ |
มูลค่า |
ขนาด |
สีที่ใช้เป็นหลัก |
คำอธิบาย |
วันที่ประกาศใช้ในพระราชอาณาจักร
|
ด้านหน้า |
ด้านหลัง |
ด้านหน้า |
ด้านหลัง |
พิมพ์ผลิต |
ประกาศใช้ในพระราชอาณาจักร |
withdrawal |
lapse
|
|
|
50 เรียล
|
130 × 60 mm
|
สีน้ำตาลเข้มและสีแทน
|
โคปุระของปราสาทบันทายศรี
|
เขื่อน
|
พ.ศ. 2545
|
29 สิงหาคม พ.ศ. 2545
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
100 เรียล
|
130 × 60 mm
|
สีม่วง,สีน้ำตาลและสีเขียว
|
วิมานเอกราช (พนมเปญ)
|
โรงเรียน
|
พ.ศ. 2544
|
9 สิงหาคม พ.ศ. 2544
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
100 เรียล
|
|
สีส้มและสีน้ำตาล
|
เศียรพญานาค (ตำนานพระทอง-นางนาค), พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุขณะทรงผนวช
|
รูปปั้นเขมร, วัดพระแก้วมรกต (พนมเปญ)
|
พ.ศ. 2557
|
14 มกราคม 2558
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
500 เรียล
|
138 × 64 mm
|
สีแดงและสีม่วง
|
นครวัด
|
สะพานคีสูณาข้ามแม่น้ำโขง
|
พ.ศ. 2545
|
4 เมษายน พ.ศ. 2546
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
500 เรียล
|
|
สีชมพูและสีเทา
|
เศียรพญานาค, พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี
|
สะพานเนียกเลิง, สะพานคีสูณาข้ามแม่น้ำโขง, อนุสาวรีย์, ลายผ้าสักหลาด
|
พ.ศ. 2557
|
14 มกราคม พ.ศ. 2557
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
1,000 เรียล
|
138 × 64 mm
|
สีน้ำตาลและสีม่วงไลแล็ค
|
ประตูทิศใต้ของปราสาทบายน
|
ท่าเรือน้ำลึกสีหนุวิลล์, จังหวัดพระสีหนุ
|
พ.ศ. 2549
|
6 มกราคม พ.ศ. 2549
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
1,000 เรียล
|
146 × 68 mm
|
สีม่วงและสีฟ้า
|
เศียรพญานาค (ตำนานพระทอง-นางนาค), ตราแผ่นดินของกัมพูชา, พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ
|
พระที่นั่งจันทฉายา พระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคล (พนมเปญ), ขบวน "กินรี" ริ้วขบวนอัญเชิญพระบรมศพในพระราชพิธีถวายพระเพลิงพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ
|
พ.ศ. 2559
|
25 ตุลาคม พ.ศ. 2560
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
1,000 เรียล
|
146 × 68 mm
|
สีม่วงและสีฟ้า
|
เศียรพญานาค (ตำนานพระทอง-นางนาค), ตราแผ่นดินของกัมพูชา, พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ
|
พระที่นั่งเทวาวินิจฉัยมหัยมหาปราสาท พระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคล (พนมเปญ), พระรูปมหินทสุวรรณสนองพระองค์ประทับอัสสพงศ์ (พระนโรดมทรงม้า), ปฎิมากรรม"กินรี"
|
พ.ศ. 2559
|
25 ตุลาคม พ.ศ. 2560
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
2,000 เรียล
|
146 × 68 mm
|
สีเขียว,สีดำและสีเหลือง
|
โคปุระชั้นที่ 1 ปราสาทพระวิหาร
|
นครวัดและทุ่งนา
|
พ.ศ. 2550
|
3 มกราคม พ.ศ. 2551
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
5,000 เรียล
|
146 × 68 mm
|
สีเขียวและสีเทา
|
พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ
|
สะพานหินกำปงกะเดย (จังหวัดเสียมราฐ)
|
พ.ศ. 2544
|
6 เมษายน พ.ศ. 2544
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
5,000 เรียล
|
146 × 68 mm
|
สีม่วงและสีน้ำตาล
|
Naga (mythical snake) head, vessel, King Norodom Sihanouk wearing beret
|
Naga (mythical snake) head, Kampong Kdei bridge (Siemreap Province), freezes, chariot
|
พ.ศ. 2558
|
25 ตุลาคม พ.ศ. 2560
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
10,000 เรียล
|
146 × 68 mm
|
สีม่วง,สีน้ำตาลและสีฟ้า
|
พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ
|
พระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคล (พนมเปญ)
|
พ.ศ. 2544
|
6 เมษายน พ.ศ. 2544
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
10,000 เรียล
|
146 × 68 mm
|
สีฟ้า
|
เศียรพญานาค (ตำนานพระทอง-นางนาค), พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี
|
ปราสาทนาคพันธ์ (งูที่พันไว้) ซากปรักหักพังทางโบราณคดีของวัดพุทธบนเกาะวงกลมในปราสาทพระขรรค์, นครวัด; รูปปั้นหินของม้าพลาหะ
|
พ.ศ. 2558
|
15 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
20,000 เรียล
|
155 × 72 mm
|
|
พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี
|
พระพักตร์ทั้งสี่ของพระโพธิสัตว์ พระอวโลกิเตศวรที่นครธม
|
พ.ศ. 2551
|
5 ธันวาคม พ.ศ. 2551
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
20,000 เรียล
|
155 × 72 mm
|
|
เศียรพญานาค (ตำนานพระทอง-นางนาค), พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระบรมนาถ นโรดม สีหมุนี, ทับหลังปราสาทบันทายศรี
|
บรรณาลัยของปราสาทบันทายศรีที่จังหวัดเสียมราฐ, รูปปั้นนรสิงห์
|
พ.ศ. 2551
|
5 ธันวาคม พ.ศ. 2551
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
50,000 เรียล
|
150 × 70 mm
|
สีม่วง,สีน้ำตาลและสีฟ้า
|
พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ
|
นครวัด
|
พ.ศ. 2544
|
6 เมษายน พ.ศ. 2544
|
|
ปัจจุบัน
|
|
|
50,000 เรียล
|
155 × 72 mm
|
สีน้ำตาล
|
พญานาค (ตำนานพระทอง-นางนาค), พระบรมฉายาลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ
|
โบราณสถานเกาะแกร์, รูปปั้นช้างอิศวรพงศ์
|
พ.ศ. 2556
|
6 พฤษภาคม พ.ศ. 2557
|
|
ปัจจุบัน
|
เหรียญ
เหรียญรุ่นแรกเป็นเหรียญ 5 เรียลซึ่งสร้างขึ้นในปี พ.ศ. 2522 และทำจากอะลูมิเนียม ไม่มีการสร้างเหรียญอีกเลยจนถึงปี 2537 เมื่อมีการนำเหรียญ 50, 100, 200 และ 500 มาใช้ อย่างไรก็ตามมักไม่ค่อยพบในการหมุนเวียนเงินตรา[5]
เหรียญกษาปณ์หมุนเวียนสกุลเงินเรียลกัมพูชา
|
ภาพ |
มูลค่า |
เส้นผ่าศูนย์กลาง |
มวล |
ส่วนประกอบ |
ขอบ
|
ด้านหน้า |
ด้านหลัง |
ปีที่ประกาศใช้
|
ด้านหน้า |
ด้านหลัง
|
ปีที่ผลิตเหรียญ |
ถอน
|
|
|
50 เรียล |
15.9 mm |
1.6 g |
เหล็กกล้า |
เรียบ
|
ค่า, ปีที่ผลิตเหรียญในพุทธศักราชและปฏิทินเกรกอเรียน |
วิมานเอกราชในพนมเปญ |
1994 |
|
|
|
100 เรียล |
17.9 mm |
2 g |
เหล็กกล้า |
เรียบ
|
ค่า, ปีที่ผลิตเหรียญในพุทธศักราชและปฏิทินเกรกอเรียน |
นครวัด |
1994 |
|
|
|
200 เรียล |
20 mm |
2.4 g |
เหล็กกล้า |
เรียบ
|
ค่า, ปีที่ผลิตเหรียญในพุทธศักราชและปฏิทินเกรกอเรียน |
พานทูลรัฐธรรมนูฐพระราชพิธี (พานแว่นฟ้า) 2 อัน ข้างบนเป็นสัญลักษณ์โอม (ในภาษาเขมร) ซึ่งมีแสงเปล่งออกมา |
1994 |
|
|
|
500 เรียล |
25.8 mm |
6.5 g |
เหล็กกล้าตรงกลาง, ทองเหลืองที่ขอบวง |
ขอบเรียบและหยัก
|
ค่า, ปีที่ผลิตเหรียญในพุทธศักราชและปฏิทินเกรกอเรียน |
ตราแผ่นดินของกัมพูชา (ขนาดเล็ก) |
1994 |
|
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
|
---|
เอเชียเหนือและกลาง | |
---|
เอเชียตะวันออก | |
---|
เอเชียใต้ | |
---|
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ | |
---|
เอเชียตะวันตก | |
---|
สกุลเงินในอดีต | |
---|
|
|