ฟุตบอลโลก 2006 (2006 FIFA World Cup) รอบสุดท้ายเป็นฟุตบอลโลกครั้งที่ 18 จัดขึ้น ณ สหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี ตั้งแต่วันที่ 9 มิถุนายน ถึง 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2549 (ค.ศ. 2006) มีทีมเข้าแข่งขันในรอบสุดท้าย 32 ทีม ทีมชาติอิตาลีคว้าแชมป์ฟุตบอลโลกครั้งนี้ด้วยการเอาชนะฝรั่งเศสในการยิงจุดโทษ 5-3 หลังเสมอกัน 1-1 ประตู อันดับสามตกเป็นของเจ้าภาพเยอรมนีหลังเอาชนะโปรตุเกส 3-1 ประตู
ประเทศเยอรมนีชนะได้สิทธิจัดการแข่งขันฟุตบอลโลก 2006 เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2543 โดยเอาชนะข้อเสนอจากบราซิล อังกฤษ โมร็อกโก และแอฟริกาใต้ (ซึ่งแอฟริกาใต้จะได้เป็นเจ้าภาพฟุตบอลโลก 2010)
รายชื่อประเทศที่เข้ารอบ
สถานที่จัดการแข่งขัน
เบอร์ลิน
|
ดอร์ทมุนท์
|
มิวนิก
|
ชตุทท์การ์ท
|
โอลึมเพียชตาดิโยน
|
ไซนัลอีดูนาปร์ก (สนามฟุตบอลโลกแห่งดอร์ทมุนท์)
|
อัลลิอันซ์อาเรนา (สนามฟุตบอลโลกแห่งมิวนิก)
|
Gottlieb-Daimler-Stadion
|
52°30′53″N 13°14′22″E / 52.51472°N 13.23944°E / 52.51472; 13.23944 (Olympiastadion (Berlin))
|
51°29′33.25″N 7°27′6.63″E / 51.4925694°N 7.4518417°E / 51.4925694; 7.4518417 (Signal Iduna Park)
|
48°13′7.59″N 11°37′29.11″E / 48.2187750°N 11.6247528°E / 48.2187750; 11.6247528 (Allianz Arena)
|
48°47′32.17″N 9°13′55.31″E / 48.7922694°N 9.2320306°E / 48.7922694; 9.2320306 (Mercedes-Benz Arena)
|
ความจุ: 72,000[2]
|
ความจุ: 65,000[3]
|
ความจุ: 66,000[4]
|
ความจุ: 52,000[5]
|
|
|
|
|
เกลเซนเคียร์เชิน
|
|
ฮัมบวร์ค
|
เฟลทินส์อาเรนา (สนามฟุตบอลโลกแห่งเกลเซนเคียร์เชิน)
|
อิมเทคอาเรนา (สนามฟุตบอลโลกแห่งฮัมบวร์ค)
|
51°33′16.21″N 7°4′3.32″E / 51.5545028°N 7.0675889°E / 51.5545028; 7.0675889 (Veltins-Arena)
|
53°35′13.77″N 9°53′55.02″E / 53.5871583°N 9.8986167°E / 53.5871583; 9.8986167 (AOL Arena)
|
ความจุ: 52,000[6]
|
ความจุ: 50,000[7]
|
|
|
แฟรงก์เฟิร์ต
|
โคโลญ
|
Commerzbank-Arena (สนามฟุตบอลโลกแห่งแฟรงก์เฟิร์ต)
|
RheinEnergieStadion (สนามฟุตบอลโลกแห่งโคโลญ)
|
50°4′6.86″N 8°38′43.65″E / 50.0685722°N 8.6454583°E / 50.0685722; 8.6454583 (Commerzbank Arena)
|
50°56′0.59″N 6°52′29.99″E / 50.9334972°N 6.8749972°E / 50.9334972; 6.8749972 (RheinEnergie Stadion)
|
ความจุ: 48,000[8]
|
ความจุ: 45,000[9]
|
|
|
ฮันโนเฟอร์
|
ไลพ์ซิก
|
ไคเซอร์สเลาเทิร์น
|
เนือร์นแบร์ก
|
เอชดีไออาเรนา (สนามฟุตบอลโลกแห่งฮันโนเฟอร์)
|
เรดบูลอาเรนา
|
Fritz-Walter-Stadion
|
Frankenstadion
|
52°21′36.24″N 9°43′52.31″E / 52.3600667°N 9.7311972°E / 52.3600667; 9.7311972 (AWD-Arena)
|
51°20′44.86″N 12°20′53.59″E / 51.3457944°N 12.3482194°E / 51.3457944; 12.3482194 (Zentralstadion)
|
49°26′4.96″N 7°46′35.24″E / 49.4347111°N 7.7764556°E / 49.4347111; 7.7764556 (Fritz-Walter-Stadion)
|
49°25′34″N 11°7′33″E / 49.42611°N 11.12583°E / 49.42611; 11.12583 (EasyCredit-Stadion)
|
ความจุ: 43,000[10]
|
ความจุ: 43,000[11]
|
ความจุ: 46,000[12]
|
ความจุ: 41,000[13]
|
|
|
|
|
การแบ่งโถสลาก
กลุ่ม A
เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)
กลุ่ม B
เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)
กลุ่ม C
เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)
กลุ่ม D
เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)
กลุ่ม E
ทีม
|
แต้ม
|
แข่ง
|
ชนะ
|
เสมอ
|
แพ้
|
ได้
|
เสีย
|
รวม
|
อิตาลี
|
7 |
3 |
2 |
1 |
0 |
5 |
1 |
+4
|
กานา
|
6 |
3 |
2 |
0 |
1 |
4 |
3 |
+1
|
เช็กเกีย
|
3 |
3 |
1 |
0 |
2 |
3 |
4 |
-1
|
สหรัฐ
|
1 |
3 |
0 |
1 |
2 |
2 |
6 |
-4
|
เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)
กลุ่ม F
เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)
กลุ่ม G
เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)
กลุ่ม H
เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)
รอบแพ้คัดออก
เวลาในวงเล็บเป็นเวลาในประเทศไทย (UTC +7)
รอบ 16 ทีมสุดท้าย
เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)
รอบ 8 ทีมสุดท้าย
เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)
รอบรองชนะเลิศ
เวลาทั้งหมดตามเวลาประเทศไทย (UTC+7) (วันที่ในวงเล็บเป็นวันที่ของเวลาท้องถิ่น UTC+2)
รอบชิงที่ 3
รอบชิงชนะเลิศ
ผู้ทำประตู
ผู้ทำประตูได้สูงสุดของการแข่งขัน จะได้รับรางวัลรองเท้าทองคำ[14]จากอะดิดาส โรนัลโดจากทีมชาติบราซิลเคยได้รับรางวัลนี้ในฟุตบอลโลก 2002 โดยทำได้ 8 ประตู
สมุดภาพ
-
ถังขยะในกรุงเบอร์ลิน ช่วงฟุตบอลโลก
-
บรรยากาศภายนอกสนามแข่ง แฟนบอลชาวโปรตุเกส หน้ามหาวิหารโคโลญ
-
แสตมป์ฟุตบอลโลก ของเยอรมนี
-
แสตมป์ฟุตบอลโลก ของยูเครน
อ้างอิง
- ↑ ชื่อการแข่งขัน คำว่า Fussball (ฟุตบอล) สะกดตามภาษาเยอรมัน คือ Fußball แต่ฟีฟ่ากำหนดใช้ ss แทนที่ ß ในชื่ออย่างเป็นทางการ เพื่อให้ผู้ใช้ภาษาอื่นสามารถอ่านออกเสียงได้
- ↑ "Berlin". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
- ↑ "Dortmund". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
- ↑ "Munich". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
- ↑ "Stuttgart". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
- ↑ "Gelsenkirchen". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
- ↑ "Hamburg". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
- ↑ "Frankfurt". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
- ↑ "Cologne". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
- ↑ "Hanover". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
- ↑ "Leipzig". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
- ↑ "Kaiserslautern". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
- ↑ "Nuremberg". FIFA (Fédération Internationale de Football Association). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-06-16. สืบค้นเมื่อ 16 July 2014.
- ↑ "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2006-07-11. สืบค้นเมื่อ 2006-06-26.
แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บทางการ
- เว็บการกุศล
- บทวิเคราะห์อื่น
|
---|
แชมป์ 5 สมัย | | |
---|
แชมป์ 4 สมัย | |
---|
แชมป์ 3 สมัย | |
---|
แชมป์ 2 สมัย | |
---|
แชมป์สมัยเดียว | |
---|
|
---|
สหพันธ์ฟุตบอลนานาชาติ ( ฟีฟ่า) |
การแข่งขัน | |
---|
รอบคัดเลือก | |
---|
ชิงชนะเลิศ | |
---|
ผู้เล่น | |
---|
Final draw | |
---|
ผู้แพร่ภาพกระจายเสียง | |
---|
การคัดเลือก เจ้าภาพ | |
---|
กรรมการ | |
---|
สถิติ | |
---|
ทีมที่เข้าร่วม | |
---|
สถิติรวม |
- Player records
- Goalscorer records
- Manager records
- Match records
|
---|
เบ็ดเตล็ด | |
---|
- 1 อาร์เจนตินา ปารากวัย และอุรุกวัยจะเป็นเจ้าภาพจัดการแข่งขันนัดแรก
- 2 ไม่มีรอบคัดเลือกสำหรับฟุตบอลโลก 1930 เนื่องจากได้รับคำเชิญเท่านั้น
- 3 ไม่มีการแข่งขันนัดชิงชนะเลิศ; บทความนี้เกี่ยวกับนัดชี้ขาดของรอบแบ่งกลุ่มรอบสุดท้าย
|