ฟุตซอลชิงแชมป์สโมสรอาเซียน

ฟุตซอลชิงแชมป์สโมสรอาเซียน
ภูมิภาคเอเอฟเอฟ (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
ทีมชนะเลิศปัจจุบันประเทศไทย ชลบุรีบลูเวฟ
(ผู้ชาย) (2 สมัย)
ประเทศอินโดนีเซีย จายาเกนจานา แองเจิลส์
(ทีมหญิง) (1 สมัย)
ทีมที่ประสบความสำเร็จที่สุดประเทศไทย การท่าเรือ
(ทีมชาย) (3 สมัย)
ประเทศพม่า ท้ายเซินนัม
ประเทศอินโดนีเซีย จายาเกนจานา แองเจิลส์
(ทีมหญิง) (1 สมัย)
เว็บไซต์เว็บไซต์อย่างเป็นทางการ
เอเอฟเอฟ ฟุตซอล คัพ 2021

ฟุตซอลชิงแชมป์สโมสรอาเซียน (อังกฤษ: AFF Futsal Club Championship) หรือ เอเอฟเอฟ ฟุตซอล คัพ ชื่อเดิม อาเซียนฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ เป็นการแข่งขันฟุตซอลในระดับสโมสร เพื่อชิงชนะเลิศในระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จัดขึ้นโดยสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ถูกจัดขึ้นครั้งแรกในชื่อเดิมในปี ค.ศ. 2015 ก่อนได้ถูกเปลี่ยนชื่อเป็นปัจจุบัน ในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 2019[1]

การแข่งขันรายการนี้นับเป็นการแข่งขันรายการใหญ่ที่สุดเป็นลำดับที่สองของทวีปเอเชีย รองจากเอเอฟซีฟุตซอลคลับแชมเปียนชิพ

ผลการแข่งขัน

ทีมชาย

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ นัดชิงที่ 3
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
2015
รายละเอียด
ประเทศไทย
กรุงเทพมหานคร
ประเทศไทย
การท่าเรือ
5 – 0 ประเทศมาเลเซีย
เฟลดา ยูไนเต็ด
ประเทศพม่า
เอ็มไอซี เอฟซี
4 – 2 ประเทศออสเตรเลีย
อีสต์โคสต์ ฮีต
2016
รายละเอียด
ประเทศพม่า
เนปยีดอ
ประเทศไทย
การท่าเรือ
4 – 3 ประเทศเวียดนาม
ท้ายเซินนัม
ประเทศพม่า
เอ็มไอซี เอฟซี
7 – 5 ประเทศอินโดนีเซีย
แบล็กสตีล
2017
รายละเอียด
ประเทศไทย
กรุงเทพมหานคร
ประเทศไทย
การท่าเรือ
4 – 0 ประเทศเวียดนาม
ซันนา ควั๊ญ ฮวา
ประเทศมาเลเซีย
มะละกา ยูไนเต็ด
4 – 2 ประเทศอินโดนีเซีย
เปอร์มาตา อินดะห์ มาโนะก์วารี
2018
รายละเอียด
ประเทศอินโดนีเซีย
จาการ์ตา
ประเทศไทย
แบงค็อก บีทีเอส
7 – 1 ประเทศออสเตรเลีย
อีสต์โคสต์ ฮีต
ประเทศพม่า
เอ็มไอซี เอฟซี
3 – 3 (ต่อเวลา)

ลูกโทษ: 11 - 10

ประเทศอินโดนีเซีย
เอสเคเอ็นเอฟซีเคบูเมน
2019
รายละเอียด
ประเทศไทย
นครราชสีมา
ประเทศไทย
ชลบุรีบลูเวฟ
9–1 ประเทศเวียดนาม

ซานาเทค คั้นหว่า

ประเทศพม่า
เอ็มไอซี เอฟซี
9–5 ประเทศกัมพูชา
ดาวน์ทาวน์ สปอร์ต
2021
รายละเอียด[2]
ประเทศไทย
นครราชสีมา
ประเทศไทย
ชลบุรีบลูเวฟ
พบกันหมด ประเทศไทย
การท่าเรือ
ประเทศมาเลเซีย
เซลังงอร์
พบกันหมด ประเทศมาเลเซีย
ปาหัง เรนเจอร์ส
2022
รายละเอียด
ประเทศไทย
นครราชสีมา
ประเทศอินโดนีเซีย
บินตัง ติมัวร์ ซูราบายา
4–2 ประเทศไทย
ห้องเย็นท่าข้าม
ประเทศมาเลเซีย
เซลังงอร์
2–2 (ต่อเวลา)
(8–7) ลูกโทษ
ประเทศเวียดนาม
Sahako
2023
รายละเอียด
ประเทศไทย
นครราชสีมา
ประเทศอินโดนีเซีย
แบล็กสตีล
1–1 (ต่อเวลา)
(4–3) ลูกโทษ
ประเทศไทย
ห้องเย็นท่าข้าม
ประเทศเวียดนาม
ท้ายเซินนัม
3–0 ประเทศมาเลเซีย
ปาหัง เรนเจอร์ส

แบ่งตามรายประเทศ

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 ไทย6309
2 อินโดนีเซีย2002
3 เวียดนาม0314
4 มาเลเซีย0134
5 ออสเตรเลีย0101
6 พม่า0044
รวม (6 ประเทศ)88824

ทีมหญิง

ปี เจ้าภาพ รอบชิงชนะเลิศ รอบชิงที่ 3
ชนะเลิศ คะแนน รองชนะเลิศ อันดับที่ 3 คะแนน อันดับที่ 4
2015
รายละเอียด
ประเทศไทย
กรุงเทพ
ประเทศเวียดนาม
ท้ายเซินนัม
3 – 1 ประเทศออสเตรเลีย
ดูรัล วอร์ริเออร์ส
ประเทศไทย
เอเชียนสกอลาส์
4 – 3 ประเทศมาเลเซีย
เฟลดา ยูไนเต็ด
2016
รายละเอียด
ประเทศพม่า
เนปยีดอ
ประเทศอินโดนีเซีย
จายาเกนจานา แองเจิลส์
2 – 2 (ต่อเวลา)

ลูกโทษ: 5 - 4

ประเทศไทย
ขอนแก่น ฟุตซอลทีม
ประเทศเวียดนาม
ท้ายเซินนัม
3 – 2 ประเทศไทย
แบงค็อก บีทีเอส

แบ่งตามรายประเทศ

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 เวียดนาม1012
2 อินโดนีเซีย1001
3 ไทย0112
4 ออสเตรเลีย0101
รวม (4 ประเทศ)2226

ผลการแข่งขันแบ่งตามรายประเทศ

หมายเหตุ : รวมทั้งทีมชายและทีมหญิง

ลำดับที่ประเทศทองเงินทองแดงรวม
1 ไทย5117
2 เวียดนาม1315
3 อินโดนีเซีย1001
4 ออสเตรเลีย0202
5 มาเลเซีย0112
6 พม่า0044
รวม (6 ประเทศ)77721

อ้างอิง

  1. "IT IS NOW AFF FUTSAL CUP 2019".
  2. บลูเวฟ ชลบุรี คว้าแชมป์ฟุตซอลสโมสรอาเซียน 2021

แหล่งข้อมูลอื่น

 

Prefix: a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

Portal di Ensiklopedia Dunia