ภาพแสดงกฎ 3 ข้อของเค็พเพลอร์ที่มีวงโคจรดาวเคราะห์ 2 วง (1) วงโคจรเป็นวงรีด้วยจุดโฟกัส f1 และ f2 สำหรับดาวเคราะห์ดวงแรกและ f1 และ f3 สำหรับดาวเคราะห์ดวงที่ 2 ดวงอาทิตย์อยู่ที่จุด f1 (2) ส่วนแรเงา 2 ส่วน A1 และ A2 มีผิวพื้นเท่ากันและเวลาที่ดาวเคราะห์ 1 ทับพื้นที่ A1 เท่ากับเวลาที่ทับพื้นที่ A2 (3) เวลารวมของวงโคจรสำหรับดาวเคราะห์ 1 และดาวเคราะห์ 2 มีสัดส่วนเท่ากับ
กฎการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ของเค็พเพลอร์ (อังกฤษ: Kepler's laws of planetary motion) คือ กฎทางคณิตศาสตร์ 3 ข้อที่กล่าวถึงการเคลื่อนที่ของดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ นักคณิตศาสตร์และนักดาราศาสตร์ชาวเยอรมันชื่อ โยฮันเนิส เค็พเพลอร์ (พ.ศ. 2114–2173) เป็นผู้ค้นพบ
เค็พเพลอร์ ได้ศึกษาการสังเกตการณ์ของนักดาราศาสตร์ผู้มีชื่อเสียงชาวเดนมาร์ก ชื่อทือโก ปราเออ โดยประมาณ พ.ศ. 2148 เค็พเพลอร์พบว่าการสังเกตตำแหน่งของดาวเคราะห์ของบราห์เป็นไปตามกฎง่าย ๆ ทางคณิตศาสตร์
กฎของเค็พเพลอร์ท้าทายดาราศาสตร์สายอริสโตเติลและสายทอเลมีและกฎทางฟิสิกส์ในขณะนั้น เค็พเพลอร์ยืนยันว่าโลกเคลื่อนที่เป็นวงรีมากกว่าวงกลม และยังได้พิสูจน์ว่าความเร็วการเคลื่อนที่มีความผันแปรด้วย ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้ทางดาราศาสตร์และฟิสิกส์ อย่างไรก็ดี คำอธิบายเชิงฟิสิกส์เกี่ยวกับพฤติกรรมของดาวเคราะห์ก็ได้ปรากฏชัดเจนได้ในอีกเกือบศตวรรษต่อมา เมื่อไอแซก นิวตัน สามารถสรุปกฎของเค็พเพลอร์ได้ว่าเข้ากันกับกฎการเคลื่อนที่และกฎความโน้มถ่วงสากลของนิวตันเองโดยใช้วิชาแคลคูลัสที่เขาคิดสร้างขึ้น รูปจำลองแบบอื่นที่นำมาใช้มักให้ผลผิดพลาด
กฎ 3 ข้อของเค็พเพลอร์
- วงโคจรของดาวเคราะห์ทุกดวงเป็นวงรี โดยมีดวงอาทิตย์เป็นจุดศูนย์กลางจุดหนึ่ง วงรีเกิดจากการมีจุดศูนย์กลาง 2 ศูนย์ ดังภาพ ดังนั้นเค็พเพลอร์จึงคัดค้านความเชื่อในแนวของอริสโตเติล ปโตเลมีและโคเปอร์นิคัสที่ว่าวงโคจรเป็นวงกลม
- ในขณะที่ดาวเคราะห์เคลื่อนไปในวงโคจร เส้นตรงที่เชื่อมระหว่างดาวเคราะห์กับดวงอาทิตย์กวาดพื้นที่เท่า ๆ กันในระยะเวลาเท่ากัน ซึ่งหมายความว่าดาวเคราะห์โคจรเร็วกว่าเมื่ออยู่ใกล้ดวงอาทิตย์และช้าลงเมื่ออยู่ห่างดวงอาทิตย์ ด้วยกฎข้อนี้ เค็พเพลอร์ได้ล้มทฤษฎีดาราศาสตร์อริสโตเติลที่ว่าดาวเคราะห์เคลื่อนที่ด้วยความเร็วคงที่
- กำลังสองของคาบการโคจรของดาวเคราะห์เป็นสัดส่วนโดยตรงกับกำลังสามของกึ่งแกนเอก (ครึ่งหนึ่งของความยาววงรี) ของวงโคจร ซึ่งหมายความว่า ไม่เพียงแต่วงโคจรที่ใหญ่กว่าเท่านั้นที่มีระยะเวลานานกว่า แต่อัตราความเร็วของดาวเคราะห์ที่มีวงโคจรทีใหญ่กว่านั้นก็โคจรช้ากว่าวงโคจรที่เล็กกว่าอีกด้วย
กฎของเค็พเพลอร์ได้แสดงไว้ข้างล่าง และเป็นกฎที่มาจากกฎของนิวตันที่ใช้ระบบพิกัดเชิงขั้วศูนย์สุริยะ
อย่างไรก็ตาม กฎของเค็พเพลอร์ยังสามารถเขียนอย่างอื่นได้โดยใช้พิกัดคาร์ทีเซียน[1]
รายละเอียดทางคณิตศาสตร์
กฎข้อที่ 1
กฎเค็พเพลอร์ข้อที่ 1
กฎข้อแรกกล่าวว่า “วงโคจรของดาวเคราะห์ทุกดวงเป็นรูปวงรีที่มีดวงอาทิตย์เป็นจุดโฟกัสจุดหนึ่ง“
คณิตศาสตร์ของวงรีเป็นดังนี้
สมการคือ
![{\displaystyle r={\frac {p}{1+\epsilon \cdot \cos \theta }}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/51df1c9e036fdc9d49e3b8a7966b36e2e743a9b6)
โดยที่ p คือ กึ่งเลตัสเรกตัม (semi latus rectum) และ ε คือ ความเยื้องศูนย์กลาง (eccentricity) ซึ่งมีค่ามากกว่าหรือเท่ากับศูนย์ และน้อยกว่าหนึ่ง
เมื่อ θ=0° ดาวเคราะห์จะอยู่ที่จุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด
![{\displaystyle r_{\mathrm {min} }={\frac {p}{1+\epsilon }}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/39b8aadf5675745c116f25c7af6c047d7446a17d)
เมื่อ θ=90°: r=p และเมื่อ θ=180° ดาวเคราห์จะอยู่ที่จุดไกลดวงอาทิตย์ที่สุด:
![{\displaystyle r_{\mathrm {max} }={\frac {p}{1-\epsilon }}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/d81a3eff47c0c4958993cef54d92675ba499a253)
กึ่งแกนเอกของวงรี a คือ มัชฌิมเลขคณิตของ rmin และ rmax:
![{\displaystyle a={\frac {p}{1-\epsilon ^{2}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/0a8e1c8b88a9a640963fb2b1fbaef31c06047b9a)
กึ่งแกนโทของวงรี b คือ มัชฌิมเรขาคณิตของ rmin และ rmax:
![{\displaystyle b={\frac {p}{\sqrt {1-\epsilon ^{2}}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/6ec1578da03aeca6ba2fe757a220d9249080eb92)
นอกจากนี้ยังเป็นมัชฌิมเรขาคณิตระหว่างกึ่งแกนเอกกับกึ่งเลตัสเรกตัม
![{\displaystyle {\frac {a}{b}}={\frac {b}{p}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/ea5be96b11e2b80379984cd10441f5881f885d5e)
กฎข้อที่ 2
ภาพแสดงกฎเค็พเพลอร์ข้อที่ 2
กฎข้อที่ 2 “เส้นตรงที่เชื่อมระหว่างดาวเคราะห์กับดวงอาทิตย์ กวาดพื้นที่เท่า ๆ กันในระยะเวลาเท่ากัน” [2]
กฎนี้รู้จักในอีกชื่อหนึ่งที่ว่ากฎพื้นที่เท่า ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องโดยตรงจากกฎการอนุรักษ์โมเมนตัมเชิงมุม
โปรดดูการการอนุพัทธ์ดังภาพ
การคำนวณมี 4 ขั้นดังนี้
- 1. คำนวณ มุมกวาดเฉลี่ย (mean anomaly) M จากสูตร
![{\displaystyle M={\frac {2\pi t}{P}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/a9e3b6cafed04ad89ed29432b12bb327fc591e11)
- 2. คำนวณ มุมกวาดเยื้องศูนย์กลาง eccentric anomaly E โดยการแก้ สมการของเค็พเพลอร์:
![{\displaystyle \ M=E-\epsilon \cdot \sin E}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/251333a9100ebfa1a902d8634257572a5195d750)
- 3. คำนวณ มุมกวาดจริง (true anomaly) θ โดยใช้สมการ:
![{\displaystyle \tan {\frac {\theta }{2}}={\sqrt {\frac {1+\epsilon }{1-\epsilon }}}\cdot \tan {\frac {E}{2}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/89b369b3cd639a241cbf2111606e919a48d21cd9)
- 4. คำนวณ ระยะห่างศูนย์สุริยะ (heliocentric distance) r จากกฎข้อแรก:
![{\displaystyle r={\frac {p}{1+\epsilon \cdot \cos \theta }}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/51df1c9e036fdc9d49e3b8a7966b36e2e743a9b6)
กฎข้อที่ 3
กฎข้อที่ 3 “กำลังสองของคาบการโคจรของดาวเคราะห์เป็นสัดส่วนโดยตรงกับกำลังสามของกึ่งแกนเอกของวงโคจร” ดังนั้น ไม่เพียงความยาววงโคจรจะเพิ่มด้วยระยะทางแล้ว ความเร็วของการโคจรจะลดลงด้วย การเพิ่มของระยะเวลาการโคจรจึงเป็นมากกว่าการเป็นสัดส่วน
![{\displaystyle P^{2}\propto a^{3}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/92e24e585af212f211ce3943ba3a8899262a0895)
= คาบการโคจรของดาวเคราะห์
= แกนกึ่งเอกของวงโคจร
ดังนั้น P2a–3 มีค่าเหมือนกันสำหรับดาวเคราะห์ทุกดวงในระบบสุริยะรวมทั้งโลก เมื่อหน่วยหนึ่งถูกเลือก เช่น P ที่วัดเป็นปีดาราคติ และ a ในหน่วยดาราศาสตร์ P2a–3 มีค่า 1 สำหรับดาวเคราะห์ทุกดวงในระบบสุริยะ
ในหน่วยเอสไอ:
ตำแหน่งในฟังก์ชันของเวลา
ปัญหาเค็พเพลอร์อนุมานการโคจรวงรีและจุด 4 จุด:
- s ดวงอาทิตย์ (ณ โฟกัสหนึ่งของวงรี);
- z จุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด
- c ศูนย์กลางของวงรี
- p ดาวเคราะห์
และ
กึ่งแกนเอก ระยะจากศูนย์กลางถึงจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด นั่นคือกึ่งแกนเอก
ความเยื้องศูนย์กลาง
กึ่งแกนโท
ระยะจากดวงอาทิตย์ถึงดาวเคราะห์
ตำแหน่งดาวเคราะห์ตามที่เห็นจากดวงอาทิตย์ นั่นคือ มุมกวาดจริง
ปัญหาคือการคำนวณพิกัดเชิงขั้ว (r,ν) ของดาวเคราะห์จากเวลานับตั้งแต่ดาวเคราะห์ผ่านจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด, t
และ
, y จากที่เห็นจากศูนย์กลาง นั่นคือมุมกวาดเฉลี่ย
:
![{\displaystyle M={2\pi t \over T},}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/219e87d38c738da73b9b3f8634372e305f4dbfc1)
โดย T คือคาบการโคจร
![{\displaystyle \ |zcy|=|zsx|=|zcx|-|scx|}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/82a17b4ca7b16ce99a64ae44e57e9849824a3a24)
![{\displaystyle {\frac {a^{2}M}{2}}={\frac {a^{2}E}{2}}-{\frac {a\varepsilon \cdot a\sin E}{2}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/cc4d42148f6b29c2bf86b41d617fda6a4d1bcd83)
Division by a²/2 gives Kepler's equation
![{\displaystyle M=E-\varepsilon \cdot \sin E}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/c5ba318b2134d94bd2c589f65bbd7e3bb3a01f84)
![{\displaystyle E\approx M+\left(\varepsilon -{\frac {1}{8}}\varepsilon ^{3}\right)\sin M+{\frac {1}{2}}\varepsilon ^{2}\sin 2M+{\frac {3}{8}}\varepsilon ^{3}\sin 3M+\cdots }](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/5431e0b91646063f11315eed757b9725b695f17a)
![{\displaystyle a\cdot \cos E=a\cdot \varepsilon +r\cdot \cos \nu .}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/81ebc2ebee717f393e17d195df13a72879034ddd)
![{\displaystyle \ {\frac {r}{a}}={\frac {1-\varepsilon ^{2}}{1+\varepsilon \cdot \cos \nu }}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/c58634d863046a346c6aaa4dd602c75c837879a5)
to get
![{\displaystyle \cos E=\varepsilon +{\frac {1-\varepsilon ^{2}}{1+\varepsilon \cdot \cos \nu }}\cdot \cos \nu ={\frac {\varepsilon \cdot (1+\varepsilon \cdot \cos \nu )+(1-\varepsilon ^{2})\cdot \cos \nu }{1+\varepsilon \cdot \cos \nu }}={\frac {\varepsilon +\cos \nu }{1+\varepsilon \cdot \cos \nu }}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/6ef6f0ba0008b1c1d64df6864277d4fdcfbc87dd)
![{\displaystyle \tan ^{2}{\frac {x}{2}}={\frac {1-\cos x}{1+\cos x}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/9f8aa2a1405f3540561f454e5bb637dbb1b1fdbf)
จะได้
![{\displaystyle \tan ^{2}{\frac {E}{2}}={\frac {1-\cos E}{1+\cos E}}={\frac {1-{\frac {\varepsilon +\cos \nu }{1+\varepsilon \cdot \cos \nu }}}{1+{\frac {\varepsilon +\cos \nu }{1+\varepsilon \cdot \cos \nu }}}}={\frac {(1+\varepsilon \cdot \cos \nu )-(\varepsilon +\cos \nu )}{(1+\varepsilon \cdot \cos \nu )+(\varepsilon +\cos \nu )}}={\frac {1-\varepsilon }{1+\varepsilon }}\cdot {\frac {1-\cos \nu }{1+\cos \nu }}={\frac {1-\varepsilon }{1+\varepsilon }}\cdot \tan ^{2}{\frac {\nu }{2}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/b81d607e9f86943ec4e4e71265283df7dec3ff9d)
คูณด้วย (1+ε)/(1−ε) และใส่รากที่สอง จะได้ผลลัพธ์
![{\displaystyle \tan {\frac {\nu }{2}}={\sqrt {\frac {1+\varepsilon }{1-\varepsilon }}}\cdot \tan {\frac {E}{2}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/2267fabdabfb619f816f403defdc08835ee85c62)
ในขั้นที่สามนี้เราจะได้ความเชื่อมโยงกันระหว่างเวลากับตำแหน่งในวงโคจร
ขั้นที่สี่คือการคำนวณระยะห่างศูนย์สุริยะ r จากมุมกวาดจริง ν ด้วยกฎข้อแรกของเค็พเพลอร์:
![{\displaystyle \ r=a\cdot {\frac {1-\varepsilon ^{2}}{1+\varepsilon \cdot \cos \nu }}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/24bf2502f9f69e49d81fd695c77e50457a3f7557)
การอนุพัทธ์ (Derivation) กฎของนิวตัน
การอนุพัทธ์ของกฎเค็พเพลอร์ข้อที่ 2
![{\displaystyle m\cdot {\ddot {\mathbf {r} }}={\frac {M\cdot m}{r^{2}}}\cdot (-{\hat {\mathbf {r} }})\cdot G}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/9b68c5e82433177d96b149631cf57c8472886a6d)
![{\displaystyle {\dot {\hat {\mathbf {r} }}}={\dot {\theta }}{\hat {\boldsymbol {\theta }}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/6b086250b2b2308a6d56d6a579ac75fdcbc35dc8)
where
is the tangential unit vector, and
![{\displaystyle {\dot {\hat {\boldsymbol {\theta }}}}=-{\dot {\theta }}{\hat {\mathbf {r} }}.}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/ce7f73afa65c7a1df926b514073a7bce7e3aa8f7)
So the position vector
![{\displaystyle \mathbf {r} =r{\hat {\mathbf {r} }}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/176a26a6b258c7b8eba91c67303e748f6705ec4d)
is differentiated twice to give the velocity vector and the acceleration vector
![{\displaystyle {\dot {\mathbf {r} }}={\dot {r}}{\hat {\mathbf {r} }}+r{\dot {\hat {\mathbf {r} }}}={\dot {r}}{\hat {\mathbf {r} }}+r{\dot {\theta }}{\hat {\boldsymbol {\theta }}},}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f0552fa9f1e302b97d73115aab352e9e03d53dd0)
![{\displaystyle {\ddot {\mathbf {r} }}=({\ddot {r}}{\hat {\mathbf {r} }}+{\dot {r}}{\dot {\hat {\mathbf {r} }}})+({\dot {r}}{\dot {\theta }}{\hat {\boldsymbol {\theta }}}+r{\ddot {\theta }}{\hat {\boldsymbol {\theta }}}+r{\dot {\theta }}{\dot {\hat {\boldsymbol {\theta }}}})=({\ddot {r}}-r{\dot {\theta }}^{2}){\hat {\mathbf {r} }}+(r{\ddot {\theta }}+2{\dot {r}}{\dot {\theta }}){\hat {\boldsymbol {\theta }}}.}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/be15c256b03c5ab48bba87e707899dc77fc0179e)
Note that for constant distance,
, the planet is subject to the centripetal acceleration,
, and for constant angular speed,
, the planet is subject to the coriolis acceleration,
.
Inserting the acceleration vector into Newton's laws, and dividing by m, gives the vector equation of motion
![{\displaystyle ({\ddot {r}}-r{\dot {\theta }}^{2}){\hat {\mathbf {r} }}+(r{\ddot {\theta }}+2{\dot {r}}{\dot {\theta }}){\hat {\boldsymbol {\theta }}}=-GMr^{-2}{\hat {\mathbf {r} }}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/7e674cd7c5d87c2d9d4d46301f2c840b2fca156c)
Equating component, we get the two ordinary differential equations of motion, one for the radial acceleration and one for the tangential acceleration:
![{\displaystyle {\ddot {r}}-r{\dot {\theta }}^{2}=-GMr^{-2},}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/76d7b4aa11d0aac7794c5423266fe570748880ca)
![{\displaystyle r{\ddot {\theta }}+2{\dot {r}}{\dot {\theta }}=0.}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/ad2f880e6c5572b6236ed7d57184e9a2fb4b1e1e)
![{\displaystyle {\frac {\ddot {\theta }}{\dot {\theta }}}+2{\frac {\dot {r}}{r}}=0}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/6398299fd6dc31eb34f8c95869dfac1ae58d5809)
and integrate:
![{\displaystyle \log {\dot {\theta }}+2\log r=\log \ell ,}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/222c071a8d5f6171364a06694c54d02600021b5b)
where
is a constant of integration, and exponentiate:
![{\displaystyle r^{2}{\dot {\theta }}=\ell .}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/50564db59318fd7af29090f7912b5e4223759ab0)
This says that the specific angular momentum
is a constant of motion, even if both the distance
and the angular speed
vary.
The area swept out from time t1 to time t2,
![{\displaystyle \ \int _{t_{1}}^{t_{2}}{\frac {1}{2}}\cdot base\cdot height\cdot dt=\int _{t_{1}}^{t_{2}}{\frac {1}{2}}\cdot r\cdot r{\dot {\theta }}\cdot dt={\frac {1}{2}}\cdot \ell \cdot (t_{2}-t_{1})}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/abefe74a3a5beb730a1974dd049c4c018458ebcc)
depends only on the duration t2−t1. This is Kepler's second law.
การอนุพัทธ์ของกฎเค็พเพลอร์ข้อที่ 1
![{\displaystyle p=\ell ^{2}G^{-1}M^{-1}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/9c9203e58f5c41c0c20d6aefd71c55aa416309ba)
![{\displaystyle \ u=pr^{-1}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/955ee370971e1d8b0336df599a19bc14e9f21d22)
and get
![{\displaystyle -GMr^{-2}=-\ell ^{2}p^{-3}u^{2}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/647e1a51bc7247499cdfff99b49464a16ef1b033)
and
![{\displaystyle \ {\dot {\theta }}=\ell r^{-2}=\ell p^{-2}u^{2}.}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/8e9d2fea162e37adb50d2b8d041801930dacffc0)
![{\displaystyle \ {\dot {X}}={\frac {dX}{d\theta }}\cdot {\dot {\theta }}={\frac {dX}{d\theta }}\cdot \ell p^{-2}u^{2}.}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/d50dcad5bfeb239acd354f12e2a74fbdd7dd8bef)
Differentiate
![{\displaystyle \ r=pu^{-1}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/98994482db54a2302516d88237f4121379fafebb)
twice:
![{\displaystyle {\dot {r}}={\frac {d(pu^{-1})}{d\theta }}\cdot \ell p^{-2}u^{2}=-pu^{-2}{\frac {du}{d\theta }}\cdot \ell p^{-2}u^{2}=-\ell p^{-1}{\frac {du}{d\theta }}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/2e7451c0b61d5cd0c7cc9c795c751a022c0a7825)
![{\displaystyle {\ddot {r}}={\frac {d{\dot {r}}}{d\theta }}\cdot \ell p^{-2}u^{2}={\frac {d}{d\theta }}(-\ell p^{-1}{\frac {du}{d\theta }})\cdot \ell p^{-2}u^{2}=-\ell ^{2}p^{-3}u^{2}{\frac {d^{2}u}{d\theta ^{2}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/70a45decb0773dd0286a95530171854e866bc5d6)
Substitute into the radial equation of motion
![{\displaystyle {\ddot {r}}-r{\dot {\theta }}^{2}=-GMr^{-2}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/7d0910b547b473eb65dbc46d7fa5a2a849c777c5)
and get
![{\displaystyle (-\ell ^{2}p^{-3}u^{2}{\frac {d^{2}u}{d\theta ^{2}}})-(pu^{-1})(\ell p^{-2}u^{2})^{2}=-\ell ^{2}p^{-3}u^{2}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f78ee1f259243b83aba09beb5ef3a91ef7a09932)
Divide by
![{\displaystyle {\frac {d^{2}u}{d\theta ^{2}}}+u=1.}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/7131da4a52b7aeecc1be2fb8d74acba747011a55)
![{\displaystyle \ u=1.}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/81e808925d55acdbdcfe0fcfd18014c4b8e6122f)
![{\displaystyle {\frac {d^{2}u}{d\theta ^{2}}}+u=0}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/11a84d37b2ffa0f9d7831d88c9e4816c8ef2a68e)
These solutions are
![{\displaystyle \ u=\epsilon \cdot \cos(\theta -A)}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/c5cbdb46d07260cc58b5d83db6b119383da92ba5)
where
and
are arbitrary constants of integration. So the result is
![{\displaystyle \ u=1+\epsilon \cdot \cos(\theta -A)}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f4249554fcfb88ce1c0ea09b2e570f11e2ea572e)
Choosing the axis of the coordinate system such that
, and inserting
, gives:
![{\displaystyle \ pr^{-1}=1+\epsilon \cdot \cos \theta .}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/e2bafd9f57a48387c5af36033293939213144796)
If
this is Kepler's first law.
กฎเค็พเพลอร์ข้อที่ 3
![{\displaystyle T^{2}={\frac {4\pi ^{2}}{GM}}\cdot r^{3}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/c5cff977d69f6c6022cddccc265db5fedf8e2273)
where:
![{\displaystyle T^{2}={\frac {4\pi ^{2}}{G(M+m)}}\cdot a^{3}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/024c2892d56ec50509e5cb64f735e9be6326fd96)
โดย:
![{\displaystyle {\begin{matrix}{\frac {1}{2}}\end{matrix}}\cdot (1-\epsilon )a\cdot V_{A}\,dt={\begin{matrix}{\frac {1}{2}}\end{matrix}}\cdot (1+\epsilon )a\cdot V_{B}\,dt}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/d947d337dee374cbbc4878368c00600939c6b4b7)
![{\displaystyle (1-\epsilon )\cdot V_{A}=(1+\epsilon )\cdot V_{B}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/c3f9238fe630a74d08e200bb31149d9ba213d584)
![{\displaystyle V_{A}=V_{B}\cdot {\frac {1+\epsilon }{1-\epsilon }}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/f8b031f572bf6a113a69a8b5e429b9a5f686875f)
![{\displaystyle {\frac {mV_{A}^{2}}{2}}-{\frac {GmM}{(1-\epsilon )a}}={\frac {mV_{B}^{2}}{2}}-{\frac {GmM}{(1+\epsilon )a}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/9f76d452c594802ce83562421354515a3a4c0a15)
![{\displaystyle {\frac {V_{A}^{2}}{2}}-{\frac {V_{B}^{2}}{2}}={\frac {GM}{(1-\epsilon )a}}-{\frac {GM}{(1+\epsilon )a}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/997ac4ac0f3a8a7d49402d603e98f2b58b1502da)
![{\displaystyle {\frac {V_{A}^{2}-V_{B}^{2}}{2}}={\frac {GM}{a}}\cdot \left({\frac {1}{(1-\epsilon )}}-{\frac {1}{(1+\epsilon )}}\right)}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/6e127ddae4ca66ab3ca7a6e0ad20107c400adf60)
![{\displaystyle {\frac {\left(V_{B}\cdot {\frac {1+\epsilon }{1-\epsilon }}\right)^{2}-V_{B}^{2}}{2}}={\frac {GM}{a}}\cdot \left({\frac {1+\epsilon -1+\epsilon }{(1-\epsilon )(1+\epsilon )}}\right)}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/c5627e44d81b9c583c1f877c4f492d4c5c67a896)
![{\displaystyle V_{B}^{2}\cdot \left({\frac {1+\epsilon }{1-\epsilon }}\right)^{2}-V_{B}^{2}={\frac {2GM}{a}}\cdot \left({\frac {2\epsilon }{(1-\epsilon )(1+\epsilon )}}\right)}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/68231b670368dc67cab004d61269af855bde7b0a)
![{\displaystyle V_{B}^{2}\cdot \left({\frac {(1+\epsilon )^{2}-(1-\epsilon )^{2}}{(1-\epsilon )^{2}}}\right)={\frac {4GM\epsilon }{a\cdot (1-\epsilon )(1+\epsilon )}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/3b990e3af9874a80b6bc049d06fd6411b206f918)
![{\displaystyle V_{B}^{2}\cdot \left({\frac {1+2\epsilon +\epsilon ^{2}-1+2\epsilon -\epsilon ^{2}}{(1-\epsilon )^{2}}}\right)={\frac {4GM\epsilon }{a\cdot (1-\epsilon )(1+\epsilon )}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/dadf0013c5a86173c72fea5019f7b3c6f96d2776)
![{\displaystyle V_{B}^{2}\cdot 4\epsilon ={\frac {4GM\epsilon \cdot (1-\epsilon )^{2}}{a\cdot (1-\epsilon )(1+\epsilon )}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/d37044134658e541afc32dcaf07c054032d12a85)
![{\displaystyle V_{B}={\sqrt {\frac {GM\cdot (1-\epsilon )}{a\cdot (1+\epsilon )}}}.}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/1c5416a97ffff547138bd73142bb819d377e126d)
![{\displaystyle ={\begin{matrix}{\frac {1}{2}}\end{matrix}}\cdot (1+\epsilon )a\cdot {\sqrt {\frac {GM\cdot (1-\epsilon )}{a\cdot (1+\epsilon )}}}={\begin{matrix}{\frac {1}{2}}\end{matrix}}\cdot {\sqrt {GMa\cdot (1-\epsilon )(1+\epsilon )}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/a101773dca15332793a588f70537f5a2203c51cb)
![{\displaystyle T\cdot {\frac {dA}{dt}}=\pi a{\sqrt {(1-\epsilon ^{2})}}a}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/343c1a0389954e49d9a72cbfdf878cff2bf9b322)
![{\displaystyle T\cdot {\begin{matrix}{\frac {1}{2}}\end{matrix}}\cdot {\sqrt {GMa\cdot (1-\epsilon )(1+\epsilon )}}=\pi {\sqrt {(1-\epsilon ^{2})}}a^{2}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/532902250aaa4c4171d6135b8ea0c11e6e73d609)
![{\displaystyle T={\frac {2\pi {\sqrt {(1-\epsilon ^{2})}}a^{2}}{\sqrt {GMa\cdot (1-\epsilon )(1+\epsilon )}}}={\frac {2\pi a^{2}}{\sqrt {GMa}}}={\frac {2\pi }{\sqrt {GM}}}{\sqrt {a^{3}}}}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/96b6f917022f9a416490c49739335da34ca50b71)
![{\displaystyle T^{2}={\frac {4\pi ^{2}}{GM}}a^{3}.}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/2b96168aa958263705546280316bb73d276b8867)
![{\displaystyle T^{2}={\frac {4\pi ^{2}}{G(M+m)}}a^{3}.}](https://wikimedia.org/api/rest_v1/media/math/render/svg/7fbca8336d23b5dd0e05861faa9b4fccd68f3768)
ซ.ต.พ.
อ้างอิง
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น