1995 ซิงเกิลโดยกรีนเดย์
"เวนไอคัมอะราวด์" (อังกฤษ : When I Come Around ) เป็นเพลงของวงพังก์ร็อก อเมริกัน กรีนเดย์ เป็นเพลงที่ 10 จากสตูดิโออัลบัมชุดที่ 3 ดูกี ตัดเป็นซิงเกิลที่ 4 ของอัลบัมนี้ในปี 1995 เพลงนี้ยังมีการเล่นสดในช่วงแรก ๆ ตั้งแต่วันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 1992 "เวนไอคัมอะราวด์" เป็นซิงเกิลที่ได้รับความนิยมบนวิทยุที่สุดของกรีนเดย์ในช่วงต้นอาชีพของวง โดยสุงสุดอันดับ 6 บนชาร์ตบิลบอร์ดฮอต 100 แอร์เพลย์ เป็นอันดับสูงสุดจนกระทั่งในปี 2004 เมื่อออกซิงเกิล "Boulevard of Broken Dreams " ไต่ชาร์ตได้สูงสุดอันดับ 2
"เวนไอคัมอะราวด์" เป็นหนึ่งในเพลงออลเทอร์นาทิฟร็อกที่ประสบความสำเร็จที่สุดในปี 1995 โดยขึ้นอันดับ 1 บนชาร์ตเพลงออลเทอร์นาทิฟของบิลบอร์ด เป็นเวลา 7 อาทิตย์ และยังเป็นเพลงฮิตอันดับ 2 บนชาร์ตเมนตรีมร็อกแทรกส์ เป็นซิงเกิลอันดับ 1 ทันทีเป็นซิงเกิลที่ 3 จากอัลบัม ดูกี ถักจาก "Longview" และ "Basket Case" จากข้อมูลเดือนสิงหาคม 2010 "เวนไอคัมอะราวด์" ขายได้ 639,000 ชุด เป็นซิงเกิลขายดีอันดับ 2 ของวงในยุคคริสต์ทศวรรษ 1990 เป็นรองเพลงฮิตในปี 1997 เพลง "Good Riddance (Time of Your Life) "[ 3]
ชาร์ต
ชาร์ตประจำสัปดาห์
ชาร์ตสิ้นปี
การรับรอง
อ้างอิง
↑ "Top 10 Alt-Rock Videos From 1995" . Diffuser.fm. สืบค้นเมื่อ 2013-05-27 .
↑ "Green Day - Fantasy Studios" (PDF) . Fantasy Studios. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 2011-06-24. สืบค้นเมื่อ 2018-10-30 . Issued in February 1994, Dookie would spawn five hit singles — ‘Longview’, ‘Welcome To Paradise’ (a re‐recording of a track on Kerplunk), ‘Basket Case’, ‘When I Come Around’ and ‘She’ — and, with worldwide sales of over 16 million units, would prove to be the group’s most popular work, while establishing them at the forefront of the neo-punk scene.
↑ "Week Ending Aug. 8, 2008: Taylor Swift Returns - Chart Watch" . New.music.yahoo.com. August 11, 2010. สืบค้นเมื่อ August 14, 2011 .
↑ "Green Day – When I Come Around" . ARIA Top 50 Singles .
↑ "Top RPM Singles: Issue 8002 ." RPM . Library and Archives Canada . สืบค้นเมื่อ November 12, 2016.
↑ Schlüter, Johan (June 9, 1995). "Official Danish Singles Chart". IFPI Report . No. Week 23. IFPI Danmark .
↑ "Green Day – Basket Case" (in German). GfK Entertainment charts .
↑ "Íslenski Listinn Topp 40 (18.3. '95 – 24.3. '95)" . Dagblaðið Vísir (ภาษาไอซ์แลนด์). March 18, 1995. สืบค้นเมื่อ October 1, 2019 .
↑ "Green Day – When I Come Around" (in Dutch). Single Top 100 .
↑ "Green Day – When I Come Around" . Top 40 Singles .
↑ "Official Scottish Singles Sales Chart Top 100" . Official Charts Company . สืบค้นเมื่อ October 22, 2018.
↑ "Green Day – When I Come Around" . Singles Top 100 .
↑ "Official Singles Chart Top 100" . Official Charts Company . สืบค้นเมื่อ October 22, 2018.
↑ "Official Rock & Metal Singles Chart Top 40" . Official Charts Company . สืบค้นเมื่อ October 22, 2018.
↑ "Green Day Chart History (Radio Songs)" . Billboard . สืบค้นเมื่อ November 12, 2016.
↑ "Green Day Chart History (Alternative Airplay)" . Billboard . สืบค้นเมื่อ November 12, 2016.
↑ "Green Day Chart History (Mainstream Rock)" . Billboard . สืบค้นเมื่อ November 12, 2016.
↑ "Green Day Chart History (Pop Songs)" . Billboard . สืบค้นเมื่อ November 12, 2016.
↑ "Green Day Rock Digital" .
↑ 20.0 20.1 "1995 ARIA Singles Chart" . ARIA . สืบค้นเมื่อ November 18, 2019 .
↑ "RPM Top 100 Hit Tracks of 1995" . RPM . Library and Archives Canada . สืบค้นเมื่อ October 22, 2018 .
↑ "Árslistinn 1995" . Dagblaðið Vísir (ภาษาไอซ์แลนด์). January 2, 1996. p. 16. สืบค้นเมื่อ May 30, 2020 .
↑ "End of Year Charts 1995" . Recorded Music NZ . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ 2019-07-10. สืบค้นเมื่อ November 18, 2019 .
↑ "New Zealand single certifications – Green Day – When I Come Around" . Recorded Music NZ . สืบค้นเมื่อ November 18, 2019 .[ลิงก์เสีย ]
↑ "British single certifications – Green Day – When I Come Around" . British Phonographic Industry .
↑ "American single certifications – Green Day – When I Come Around" . Recording Industry Association of America . สืบค้นเมื่อ October 22, 2017 .