โซเดียมไซยาไนด์
Sodium cyanide bonding
Sodium cyanide space filling
เลขทะเบียน
ChEMBL
เคมสไปเดอร์
ECHA InfoCard
100.005.091
EC Number
RTECS number
UN number
1689
InChI=1S/CN.Na/c1-2;/q-1;+1
Y Key: MNWBNISUBARLIT-UHFFFAOYSA-N
Y InChI=1S/CN.Na/c1-2;/q-1;+1
Key: MNWBNISUBARLIT-UHFFFAOYAG
คุณสมบัติ
NaCN
มวลโมเลกุล
49.0072 g/mol
ลักษณะทางกายภาพ
ของแข็งสีขาว
กลิ่น
จาง ๆ คล้ายอัลมอนด์
ความหนาแน่น
1.5955 g/cm3
จุดหลอมเหลว
563.7 องศาเซลเซียส (1,046.7 องศาฟาเรนไฮต์; 836.9 เคลวิน)
จุดเดือด
1,496 องศาเซลเซียส (2,725 องศาฟาเรนไฮต์; 1,769 เคลวิน)
48.15 g/100 mL (10 °C) 63.7 g/100 mL (25 °C)
ความสามารถละลายได้
ละลายในแอมโมเนีย , เมทานอล , เอทานอล ละลายได้บ้างในไดเมทิลฟอร์มาไมด์ , SO2 ไม่ละลายในไดเมทิลซัลฟอไซด์
1.452
อุณหเคมี
70.4 J/mol K
115.7 J/mol K
-91 kJ/mol
ความอันตราย
NFPA 704 (fire diamond)
จุดวาบไฟ
ไม่ติดไฟ
ปริมาณ หรือความเข้มข้น (LD, LC):
6.44 mg/kg (หนู, ทางปาก) 4 mg/kg (แกะ, ทางปาก) 15 mg/kg (สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม, ทางปาก) 8 mg/kg (หนู, ทางปาก)[ 2]
NIOSH (US health exposure limits):
TWA 5 mg/m3 [ 1]
เอกสารข้อมูลความปลอดภัย (SDS)
ICSC 1118
สารประกอบอื่นที่เกี่ยวข้องกัน
โพแทสเซียมไซยาไนด์
สารประกอบที่เกี่ยวข้อง
ไฮโดรเจนไซยาไนด์
Chemical compound
โซเดียมไซยาไนด์ (อังกฤษ : sodium cyanide ) มีสูตรเคมีคือ NaCN มีลักษณะเป็นของแข็งสีขาว ละลายน้ำได้ นิยมใช้ในอุตสาหกรรมเหมืองแร่ทอง โซเดียมไซยาไนด์มีความเป็นพิษสูงมาก มีกลิ่นจาง ๆ คล้ายอัลมอนด์ แต่การได้กลิ่นนี้ขึ้นอยู่กับลักษณะทางพันธุกรรม[ 5] เมื่อผสมกับกรดจะได้แก๊สพิษ ไฮโดรเจนไซยาไนด์
NaCN + H2 SO4 → HCN + NaHSO4
การผลิต
เดิมโซเดียมไซยาไนด์ได้จากการกระบวนการแคสต์เนอร์–เคลล์เนอร์ ซึ่งเป็นการทำปฏิกิริยาระหว่างโซเดียมเอไมด์ กับคาร์บอน:
NaNH2 + C → NaCN + H2
ต่อมา การผลิตโซเดียมไซยาไนด์ได้จากการทำปฏิกิริยาระหว่างไฮโดรเจนไซยาไนด์ กับโซเดียมไฮดรอกไซด์ :[ 6]
HCN + NaOH → NaCN + H2 O
ในปี ค.ศ. 2006 มีการประมาณการว่าทั่วโลกผลิตโซเดียมไซยาไนด์จำนวนกว่า 500,000 ตัน
ความเป็นพิษ
โซเดียมไซยาไนด์เป็นสารยับยั้งการหายใจระดับเซลล์ โดยมีผลต่อเอนไซม์ไซโตโครม ซี ออกซิเดส ในไมโตคอนเดรีย ทำให้เซลล์ไม่สมารถใช้ออกซิเจนในการหายใจได้ เกิดภาวะเลือดเป็นกรดแล็กติก ทำให้กล้ามเนื้อล้า หายใจตื้น หมดสติและเสียชีวิต ขนาดของโซเดียมไซยาไนด์ที่ทำให้เสียชีวิตอยู่ที่ 200–300 มิลลิกรัม[ 7]
โซเดียมไซยาไนด์สามารถขจัดความเป็นพิษได้ด้วยไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ (H2 O2 ) โดยจะได้โซเดียมไซยาเนต และน้ำเป็นผลิตภัณฑ์:[ 6]
NaCN + H2 O2 → NaOCN + H2 O
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
แหล่งข้อมูลอื่น
เกลือและอนุพันธ์โคเวเลนต์ของไซยาไนด์ ไอออน
HCN
He
LiCN
Be(CN)2
B
C
NH4 CN
OCN− ,-NCO
FCN
Ne
NaCN
Mg(CN)2
Al(CN)3
SiCN
P(CN)3
SCN− ,-NCS ,(SCN)2 ,S(CN)2
ClCN
Ar
KCN
Ca(CN)2
Sc(CN)3
Ti(CN)4
VO(CN)3
Cr(CN)3
Mn(CN)2
Fe(CN)3 ,Fe(CN)6 4+ ,Fe(CN)6 3+
Co(CN)2 , Co(CN)3
Ni(CN)2 Ni(CN)4 2−
CuCN
Zn(CN)2
Ga(CN)3
Ge
As(CN)3
SeCN− (SeCN)2 Se(CN)2
BrCN
Kr
RbCN
Sr(CN)2
Y(CN)3
Zr(CN)4
Nb
Mo
Tc
Ru
Rh
Pd(CN)2
AgCN
Cd(CN)2
In(CN)3
Sn
Sb
Te(CN)2 ,Te(CN)4
ICN
XeCN
CsCN
Ba(CN)2
Hf
Ta
W
Re
Os
Ir
Pt
Au
Hg2 (CN)2 , Hg(CN)2
TlCN
Pb(CN)2
Bi(CN)3
Po
At
Rn
Fr
Ra
Rf
Db
Sg
Bh
Hs
Mt
Ds
Rg
Cn
Nh
Fl
Mc
Lv
Ts
Og
↓
La
Ce(CN)3 , Ce(CN)4
Pr
Nd
Pm
Sm
Eu
Gd(CN)3
Tb
Dy
Ho
Er
Tm
Yb
Lu
Ac
Th
Pa
UO2 (CN)2
Np
Pu
Am
Cm
Bk
Cf
Es
Fm
Md
No
Lr