เกาะซูลาเวซี แผนที่ภูมิประเทศของเกาะซูลาเวซี
แผนที่เขตการปกครองบนเกาะซูลาเวซี
ภูมิศาสตร์ ที่ตั้ง ประเทศอินโดนีเซีย พิกัด 02°S 121°E / 2°S 121°E / -2; 121 กลุ่มเกาะ หมู่เกาะซุนดาใหญ่ พื้นที่ 180,680.7 ตารางกิโลเมตร (69,761.2 ตารางไมล์) อันดับพื้นที่ ที่ 11 ระดับสูงสุด 3,478 ม. (11411 ฟุต) จุดสูงสุด ลาตีโมจง การปกครอง อินโดนีเซีย
จังหวัด (เมืองหลัก)
เมืองใหญ่สุด มากัซซาร์ (ประชากร 1,423,877 คน)ประชากรศาสตร์ ประชากร 19,896,951 (สำมะโน 2020) ความหนาแน่น 105.5/กม.2 (273.2/ตารางไมล์) กลุ่มชาติพันธุ์ มากัซซาร์ , บูกิซ , มันดาร์ , มีนาฮาซา , โก-รนตาโล , โตราจา , บูตน , มูนา , โตลากี , Bajau , Mongondow
ซูลาเวซี (อินโดนีเซีย : Sulawesi ) หรือเดิมเรียกว่า เซเลบีส (อังกฤษ : Celebes ) ซึ่งมาจากภาษาโปรตุเกส เป็นหนึ่งในเกาะซุนดา ใหญ่ 4 เกาะของประเทศอินโดนีเซีย
ชาวยุโรปพวกแรกที่เดินทางมายังเกาะแห่งนี้ คือ กะลาสี เรือชาวโปรตุเกส เมื่อ พ.ศ. 2055 และนับตั้งแต่ พ.ศ. 2212 เป็นต้นมา บริษัทอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ก็ได้ตั้งมั่นอยู่ที่มากัซซาร์ (Makassar) และเมื่อ พ.ศ. 2448 พื้นที่ทั้งเกาะกลายเป็นส่วนหนึ่งของนิคมชาวดัตช์อินเดียตะวันออก กระทั่งอินโดนีเซียประกาศเอกราชเมื่อ พ.ศ. 2498
ศัพทมูลวิทยา
ชื่อ ซูลาเวซี น่าจะมาจากคำว่า ซูลา ("เกาะ") กับ เบอซี ("เหล็ก") และอาจสื่อถึงการนำเข้าเหล็ก จากตะกอนเหล็ก ที่มีอยู่มากในทะเลสาบมาตาโน ในอดีต[ 1]
ส่วนชื่อ "เซเลบีส" มาจากนักเดินทางชาวโปรตุเกส ที่เรียกเกาะนี้ แม้ว่าความหมายนั้นไม่ปรากฏชัด ชื่อนี้อาจถือเป็นการเรียกชื่อพื้นเมืองของเกาะ "Sulawesi" ตามภาษาโปรตุเกส[ 2]
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจบนเกาะซูลาเวซีมุ่งเน้นอยู่ที่การเกษตร การประมง เหมืองแร่ และการป่าไม้[ 3]
อ้างอิง
ข้อมูล
Limits of Oceans and Seas, 3rd ed. (PDF) , International Hydrographic Organization , 1953, คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF) เมื่อ 5 October 2018, สืบค้นเมื่อ 6 October 2015 .
Von Rintelen, T.; และคณะ (2014), "A Snail Perspective on the Biogeography of Sulawesi, Indonesia: Origin and Intra-Island Dispersal of the Viviparous Freshwater Gastropod Tylomelania ", PLOS ONE , 9 (6): e98917, Bibcode :2014PLoSO...998917V , doi :10.1371/journal.pone.0098917 , PMC 4090239 , PMID 24971564 .
แหล่งข้อมูลอื่น
คู่มือการท่องเที่ยว เกาะซูลาเวซี จากวิกิท่องเที่ยว (ในภาษาอังกฤษ)
ขนาด 100,000 ตารางกิโลเมตร (39,000 ตารางไมล์) หรือมากกว่า ขนาด 20,000–99,999 ตารางกิโลเมตร (7,722–38,610 ตารางไมล์)
นานาชาติ ประจำชาติ ภูมิศาสตร์ อื่น ๆ