อาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง (จีน: 車裏[1]) (ลาว: ອານາຈັກຮໍຄຳຊຽງຮຸ່ງ) (พม่า: ဇာတ်လမ်း၏ အဓိပ္ပါယ်) คือ อาณาจักรที่เคยตั้งอยู่ในเขตสิบสองปันนา มณฑลยูนนาน ประเทศจีน
อาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง
景隴金殿國 ![](//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/3/3f/Jinghong.svg/80px-Jinghong.svg.png) |
---|
พ.ศ. 1703–พ.ศ. 2493 |
![แผนที่ในศตวรรษที่ 19](//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/9/96/Map_of_Siam%2C_Laos%2C_Cambodia%2C_and_Shan_States_%281884%29.jpg/250px-Map_of_Siam%2C_Laos%2C_Cambodia%2C_and_Shan_States_%281884%29.jpg) แผนที่ในศตวรรษที่ 19 |
เมืองหลวง | เชียงรุ่ง |
---|
ประวัติศาสตร์ | |
---|
|
• ก่อตั้ง | พ.ศ. 1703 |
---|
| พ.ศ. 2493 |
---|
|
|
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ |
จีน พม่า ลาว
|
---|
ขนาด และ เขตการปกครอง
อาณาจักรหอคำเชียงรุ่ง หรือ อาณาจักรเชียงรุ่ง เป็นอาณาจักรที่เคยทรงอำนาจมากในเขตประเทศจีนตอนใต้ ทั้งยังขยายอิทธิพลไปตีเอาเมืองใกล้เคียง เช่น
มีวัฒนธรรมที่โดดเด่นเป็นของตนเอง ใกล้เคียงกับวัฒนธรรมของพม่า ล้านนา สยาม ลาว และ เวียดนาม โดยแบ่งระบบการปกครองเป็น 12 พันนา 12000 พันนา หรือ 12 เขตการปกครอง โดยแต่ละเมือง จะมีเมืองเล็ก ๆ หลาย ๆ เมือง มารวมกันอยู่เมืองใหญ่ หรือ พันนา พูดอีกนัยหนึ่งก็คือ การปกครองแบบ สหพันธรัฐ และมีเมืองหลวงอยู่ที่ เมืองเชียงรุ่ง การแบ่งเช่นนี้ก็เพราะว่า ความสะดวกในการปกครองและการเก็บส่วยอากร เก็บเครื่องบรรณาการส่งไปยังเชียงรุ่งซึ่งเป็นเมืองหลวง
ที่จริงการแบ่งเขตแบบพันนานี้ นิยมใช้ในภูมิภาคแถว ๆ นั้น ลงมาจนถึงดินแดนล้านนา อีกอาณาจักรหนึ่งที่เป็นที่รู้จักก็คือ แคว้นสิบสองจุไทย ของชาวไทดำ ในอาณาจักรล้านนานั้นก็เช่นเดียว โดยจะเห็นได้จากตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ ซึ่งกล่าวถึงเขตแดนของเมืองเชียงแสนที่สร้างขึ้น บริเวณเมืองเงินยางเดิมโดยพญาแสนภู พระราชนัดดาของ พระยามังรายมหาราช เมื่อปี พ.ศ. 1871 ตอนหนึ่งว่า "ดังมักแคว้นเขตแดนเมืองเชียงแสนทั้งเมือง มี 32 พันนาแล"
หลังจากนั้น อาณาจักรนี้ก็ถูกโจมตี จนอาณาจักรหอคำเชียงรุ่งล่มสลาย กลายเป็นแคว้นสิบสองปันนา
รายพระนามเจ้าฟ้าเชียงรุ่ง[2]
พระนาม
|
เริ่ม (พ.ศ.)
|
สิ้นสุด (พ.ศ.)
|
หมายเหตุ
|
พญาเจือง
|
1703
|
1723
|
|
สามไค้เนือง
|
1723
|
1744
|
พระโอรสในพญาเจือง
|
อ้ายพูง
|
1744
|
1767
|
พระโอรสในสามไค้เนือง
|
ท้าวรุ่งแก่นชาย
|
1768
|
1789
|
พระโอรสในอ้ายพูง, พระอัยกา (ตา) ในพญามังราย[3]
|
ท้าวแรงหลวง
|
1789
|
1814
|
พระโอรสในท้าวรุ่งแก่นชาย
|
ท้าวพูวาก
|
1815
|
1828
|
พระโอรสในท้าวแรงหลวง
|
ยี่เพียงลากซาย
|
1828
|
1829
|
พระอนุชาในท้าวพูวาก
|
เจ้าไอ่
|
1829
|
1888
|
พระโอรสในยี่เพียงลากซาย
|
เจ้าคานเมือง
|
1889
|
1933
|
พระโอรสในเจ้าไอ่
|
ท้าวสิดาคำ
|
1934
|
1956
|
พระโอรสในเจ้าคานเมือง
|
ท้าวกุมมาร
|
1956
|
1957
|
พระอนุชาในท้าวสิดาคำ
|
ท้าวกือเมือง
|
1957
|
1958
|
พระโอรสในท้าวสิดาคำ
|
ท้าวบากอง
|
1958
|
1959
|
พระโอรสในท้าวกือเมือง
|
ท้าวสองเมือง
|
1959
|
1977
|
พระอนุชาในท้าวบากอง
|
เสือล่วงฟ้า
|
1960
|
1974
|
พระภาติยะ (ลูกของน้องชาย) ในท้าวสิดาคำ, ปกครองร่วมกับท้าวสองเมือง
|
ท้าวปราแสง
|
1975
|
2000
|
พระโอรสในเสือล่วงฟ้า
|
ท้าวสามพ่อลือไท
|
2001
|
2033
|
พระอนุชาในท้าวสองเมือง
|
สามไค้เนือง
|
2033
|
2047
|
พระโอรสในท้าวสามพ่อลือไท
|
เจ้าคานเมือง
|
2047
|
2081
|
พระภาติยะ (ลูกของน้องชาย) ในสามไค้เนือง
|
เจ้าศรีสมภาร
|
2081
|
2104
|
พระโอรสในเจ้าคานเมือง
|
เจ้าอุ่นเมือง
|
2104
|
2121
|
พระโอรสในเจ้าศรีสมภาร
|
เจ้าศรีสุนันทา
|
2121
|
2122
|
พระโอรสในเจ้าอุ่นเมือง
|
เจ้าอิ่นเมือง
|
2122
|
2126
|
พระอนุชาในเจ้าศรีสุนันทา
|
เจ้าหน่อเมือง
|
2126
|
2171
|
พระโอรสในเจ้าอิ่นเมือง
|
เจ้าศรีสุธรรมา
|
2171
|
2187
|
พระโอรสในเจ้าหน่อเมือง
|
เจ้าหม่อมคำลือ
|
2188
|
2201
|
พระโอรสในเจ้าศรีสุธรรมา
|
เจ้าหม่อมท้าว
|
2201
|
2209
|
พระอนุชาในเจ้าหม่อมท้าว
|
เจ้าหน่อเมือง
|
2208
|
2215
|
พระโอรสในเจ้าหม่อมคำลือ
|
เจ้าเมืองท้าว
|
2215
|
2229
|
พระโอรสในเจ้าหม่อมท้าว
|
เจ้าแพงเมือง
|
2229
|
2269
|
พระโอรสในเจ้าเมืองท้าว
|
เท่าชิ่นเพา
|
2269
|
2272
|
พระโอรสในเจ้าแพงเมือง
|
เท่าเส่าวิ้น
|
2272
|
2310
|
พระอนุชาในเท่าชิ่นเพา
|
เท่าวุ้ยภิ้น
|
2315
|
2316
|
พระโอรสในเท่าเส่าวิ้น
|
เท่าวุ้ยภิ้นหลบหนีไปพม่า จีนจึงตั้งข้าหลวงมาควบคุมเชียงรุ่ง (2316 - 2320)
|
เจ้าหม่อมสุวรรณ
|
2320
|
2340
|
พระอนุชาในเท่าวุ้ยภิ้น
|
เจ้าหม่อมมหาวงศ์
|
2340
|
2345
|
พระโอรสในเจ้าหม่อมสุวรรณ
|
เจ้ามหาน้อย
|
2346
|
2377
|
พระโอรสในเจ้าหม่อมมหาวงศ์
|
เจ้าหม่อมสุชาวรรณราชบุตร
|
2377
|
2407
|
พระภาติยะ (ลูกของน้องชาย) ในเจ้าหม่อมมหาวงศ์
|
เจ้าหม่อมส้อ
|
2407
|
2419
|
พระภาติยะ (ลูกของน้องชาย) ในเจ้าหม่อมสุชาวรรณราชบุตร
|
เจ้าหม่อมคำลือ
|
2421
|
2468
|
พระโอรสในเจ้าหม่อมส้อ
|
เจ้าหม่อมสุวรรณปราคราง
|
2468
|
2486
|
พระโอรสในเจ้าหม่อมคำลือ
|
เจ้าหม่อมคำลือ
|
2487
|
2493
|
พระภาติยะ (ลูกของน้องชาย) ในเจ้าหม่อมสุวรรณปราคราง
|
ยกเลิกตำแหน่งเจ้าฟ้า (2493)
|
อ้างอิง
- ↑ "卷三百十五 列傳第二百〇三 雲南土司三" [Volume 315 Biographies 203: Yunnan Tribal Headmen 3], 明史 [History of Ming], สืบค้นเมื่อ 2024-05-13
- ↑ เท่าค่องแซ้ง; อ้ายคำ; วิชาศิลป์, เรณู, บ.ก. (1998), เชื้อเครือเจ้าแสนหวี ๑๒ พันนา, สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม, OCLC 1281314778, สืบค้นเมื่อ 2024-05-13
- ↑ สำนักนายกรัฐมนตรี, คณะกรรมการจัดพิมพ์เอกสารทางประวัติศาสตร์, บ.ก. (1971), ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ [Tamnan Phuen Mueang Chiang Mai] (PDF), แปลโดย โชติสุขรัตน์, สงวน, พระนคร: สำนักนายกรัฐมนตรี, pp. 8–9, สืบค้นเมื่อ 2024-05-13