ออบิท เป็นนิตยสารรวมเรื่องสั้นของไทย จัดทำโดย สำนักพิมพ์ออบิท
ฉบับที่ตีพิมพ์
- ออบิท 1
- นิตยสารรวมเรื่องสั้น ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2522 โดยมีเรื่องในเล่มได้แก่
- มัลติแวค (All the Troubles of The World) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย ประมุข ลิมปนันทน์
- อารักษ์ (The Sentinel) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก
- ทำเองก็ได้ ง่ายจัง! (Do It yourself) - แปลโดย สราวุธ สำรัญศุภ
- เกลียด (Hate) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก แปลโดย ชิงชัย วณิชย์วรนันท์
- กู, ตัวกู, แล้วก็ตัวกู อีกนั่นแหละ (Me, Myself and I) - วิลเลียม เท็นน์ แปลโดย ประมุข ลิมปนันทน์
- รักข้ามรุ่น (Cosmic Casanova) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก แปลโดย สมพงษ์
- สงครามเย็น (The Hour of Battle) - Robet Tpecnley แปลโดย ยรรยง เต็งอำนวย
- สองมหาจักรพรรดิ์ (ผู้เชื่องช้า) (The Freat Slow King) - โรเจอร์ เซลานี แปลโดย ประสิทธิ์ สุวรรณวิทยา
- วับนั้นไซร์ (สุกรธรรมดา) (Beyond Lies The Wub) - ฟิลลิปส์ เค. ดิก แปลโดย ยรรยง เต็งอำนวย
- ผันดีเถอะนะเมลิซซ่า (Sweet Dream Melisa) - สตีเฟน โกลดิง แปลโดย ธรรมนูญ จรัสวัฒน์
- แผนพิฆาต (Time To Kill) - อีเลนอร์ บัสบี้ แปลโดย ประมุข ลิมปนันทน์
- ออบิท 2 ราชสีห์แห่งคอมมาร์
- นิตยสารรวมเรื่องสั้น ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2522 โดยมีเรื่องในเล่มได้แก่
- ราชสีห์แห่งคอมมาร์ (The Lion of Comarre) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก แปลโดย ยรรยง เต็งอำนวย
- เด็กเอ๋ยเด็กน้อย (Gentle Dying) - แปลโดย ปริทรรศน์ พันธ์บรรยงค์
- ศัลยแพทย์ (Segregationist) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย ธารีรัตน์ ประชาสันต์
- ผู้รอคอยแห่งดาวพริลล่า (Appointment on Prila) - บ็อบ ชอว์ แปลโดย ธรรมนูญ จรัสวัฒน์
- อาวุธมหาประลัย (The Weapon Too Dreadful to Use) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย ประมุข ลิมปนันทน์
- อาทิตย์อัศดง (At the End of Days) - โรเบิร์ต ซิลเวอร์เบิร์ก แปลโดย ชิงชัย วณิชย์วรนันท์
- จบแล้ว โดย ประมุข ลิมปนันทน์
- ออบิท 3 วิถีแห่งอังคาร
- นิตยสารรวมเรื่องสั้น ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2522 โดยมีเรื่องในเล่มได้แก่
- จดหมายเปิดผนึกถึงประธานาธิบดีคาร์เตอร์ จากอาซิมอฟ – ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย ยรรยง เต็งอำนวย
- นายคนนั้นชื่อประสงค์ (The Four Hour Fugue) - อัลเฟรด เบสเตอร์ (Alfred Bester) แปลโดย ไตรรัตน์ ใจสำราญ
- ขับแหลก (Along the Scenic Route) - ฮาร์เลน เอลลิสัน (Harlan Ellison) แปลโดย ชิงชัย วณิชย์วรนันท์
- ไปดูจุดจบของโลกกันเถอะ (When We Went to See the End of the World) - โรเบิร์ต ซิลเวอร์เบิร์ก (Robert Silverberg) แปลโดย ประมุข ลิมปนันทน์
- วิถีแห่งอังคาร (The Martain Way) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย ยรรยง เต็งอำนวย
- ออบิท 4 ซากสงคราม
- นิตยสารรวมเรื่องสั้น ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2522 โดยมีเรื่องในเล่มได้แก่
- ซากสงคราม (A Relic of War) - คีธ ลอเมอร์ แปลโดย ธรรมนูญ จรัสวัฒน์
- ไม่ได้ด้วยเล่ห์ (Loophole) - อาร์เทอร์ ซี. คลาร์ก แปลโดย ประการ จารุวัฒน์
- ฝีมือเด็กๆ (Tomorrow's Children) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย ประทีป ตันตสูติ
- ไกลบ้าน (Castaway) - อาเทอร์ ซี. คลาร์ก แปลโดย ยรรยง เต็งอำนวย
- ลูกครึ่ง (Half Breeds Children) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย ประการ จารุวัฒน์
- รักนี้เป็นไฉน (What Is This Thing Called Love) - ไอแซค อสิมอฟ ประมุข ลิมปนันทน์
- ผู้เสียสละ (Erem) - เกลบ แอนฟิลอฟ (Gleb Anfilov) แปลโดย ปริทรรศน์ พันธ์บรรยงค์
- รถติด (Traffic Problem) แปลโดย อนุชา สมภพสกุล
- คิมหันต์เพียงวันเดียว (All Summer In a Day) - เรย์ เบรดบิวรี่ แปลโดย พิเชฐ ชีพสัจญาณ
- ออบิท 5 สนธยาเยือน
- นิตยสารรวมเรื่องสั้น ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2522 โดยมีเรื่องในเล่มได้แก่
- ข้าฯ ได้รู้ ข้าฯ ได้เห็น (De Profundis) - เมอเรย์ ไลน์สเตอร์ แปลโดย ธารา ชลปราณี
- แลไปข้างหลัง (The Backward Look) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย พิเชฐ ชีพสัจญาณ
- ผู้รับเหมา (Budget Plannet) - โรเบิร์ต เช็คเลย์ แปลโดย ธรรมนูญ จรัสวัฒน์
- ผู้ฝ่าฝืนบัญชาสวรรค์ (Psi Man) - ฟิลลิปส์ เค. ดิก แปลโดย บรรยงค์
- สนธยาเยือน (Night Fall) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย ประมุข ลิมปนันทน์
- โคนันทวิศาล (Key Item) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย วรรณวิภา แสงสุวรรณ และ จันทิรา ลือสกุล
- ออบิท 6 ทาสแห่งกาลเวลา
- นิตยสารรวมเรื่องสั้น ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2523 โดยมีเรื่องในเล่มได้แก่
- วันเสาร์สลาย (Shatterday) แปลโดย ไตรรัตน์ ใจสำราญ
- ชนวน (Time Fuze) - แรนดอล การ์เซ็ตต์ (Randall Garsett) แปลโดย ธรรมนูญ จรัสวัฒน์
- ผู้โดยสาร (The Commuter) - ฟิลลิปส์ เค. ดิก แปลโดย กิตติพงษ์ แพรักขกิจ
- ราตรีมิสิ้นสุด (The Xi Effect) - ฟิลลิป ลาธาม (Phillip Latham) แปลโดย ธนพงษ์
- นิราศ ชาห์ ไก โด จี (Shah Guido G.) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย พิเชฐ ชีพสัจญาณ
- ทาสแห่งกาลเวลา (Slave of Time) - โรเบิร์ต เช็คเลย์ แปลโดย ธนิต พงษ์ดำบรรณ์
- ยอดนักคำนวณ (Misfit) - โรเบิร์ต เอ. ไฮน์ไลน์ แปลโดย ปริทรรศน์ พันธ์บรรยงค์
- ออบิท 7 สัมผัสแห่งอารยะ
- นิตยสารรวมเรื่องสั้น ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2524 โดยมีเรื่องในเล่มได้แก่
- กวีรจนะ - ประมุข ลิมปนันทน์
- ประวัติศาสตร์อนาคต – ประมุข ลิมปนันทน์
- โรคแทรกซ้อน – เอกศานต์
- เขาว่าผมเกิดมาโชคร้าย - ธรรมนูญ จรัสวัฒน์
- บ้านในฝัน – ธนพงษ์
- ภัยมืด – ธรรมนูญ จรัสวัฒน์
- คลื่นรบกวน – ไตรรัตน์ ใจสำราญ
- วงเวลา - 123
- ออบิท 8 มฤตยูดำ
- นิตยสารรวมเรื่องสั้น ตีพิมพ์เมื่อ พ.ศ. 2525 โดยบางส่วนของ คำนำ หนังสือได้กล่าวสรุปไว้ว่า... "พูดถึงเรื่องใน มฤตยูดำ นี่ ส่วนใหญ่จะมีหุ่นยนต์หรือเครื่องจักรกลเข้ามาเกี่ยวข้องด้วย หากใครที่เป็นนักจัดชุดนิยายวิทยาศาสตร์ ก็พอจะจัดชุดนี้เข้าใน Robot & Machine หรือ หุ่นยนต์และเครื่องจักรกล ได้อย่างสบาย ๆ"[1] โดย มีเรื่องสั้นในเล่มได้แก่
- ผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ (Arm of the Law) - แฮรี่ แฮริสัน แปลโดย หมอ "งานเสี่ยงภัยใต้น้ำก็ควรจะเป็นงานของพวกหุ่นยนต์ได้ หุ่นยนต์ซ่อมเครื่องกำเนิดอะตอมในห้องปฏิกรณ์ปรมาณูได้ ซึ่งงานแบบนี้มนุษย์ไม่สามารถทำได้ และนั่นหมายถึงว่า มันจะเป็นอย่างไรถ้าจะให้พวกเขาทำงานด้านรักษากฎหมายด้วย...."
- ดนตรีในจิตใจ (Marching In) - ไอแซค อสิมอฟ แปลโดย ไตรรัตน์ ใจสำราญ "ดี่ดีดีด๊า....ดี่ดีดีด๊า....ดี่ดีดีด๊า....ดาด่าดี๊ดา...."
- มันมีหัวใจ (The Robot Who Wanted to Know) - แฮรี่ แฮริสัน แปลโดย ธรรมนูญ จรัสวัฒน์ "ในสายตาของผู้เป็นนาย หุ่นยนต์ไม่ต้องเรียนรู้ในสิ่งที่ไม่จำเป็นเช่นเดียวกับทาส พวกทาสมีความจำเป็นที่จะเรียนรู้สิ่งที่ตัวเองต้องทำเท่านั้น แต่ก็มีหุ่นยนต์บางตัวที่จำเป็นต้องเรียนรู้ข้อมูลต่าง ๆ ที่มันไม่จำเป็นต้องใช้ในทันที เช่นหุ่นบรรณารักษ์ ที่ต้องมีหน่วยความจำขนาดใหญ่ และบรรจุเต็มไปด้วยข้อมูลต่าง ๆ เพียงเพื่อจะตอบคำถามง่าย ๆ ...."
- มฤตยูดำ - แปลโดย ประมุข ลิมปนันทน์ "...................."
- ช่วยผมด้วย (Velvet Glove) - แฮรี่ แฮริสัน แปลโดย ประหยัด โภคฐิติยุกต์ "พวกมันจะเป็นหุ่นยนต์ที่ดูเหมือนแต่ไม่ใช่มนุษย์ คงไม่ง่ายนักที่จะแยกพวกมันออกจากมนุษย์ แต่ทว่ามันก็ต่างกับมนุษย์ มันคือเครื่องจักรในร่างของมนุษย์ แล้วซักวันหนึ่ง คนจะต้องจัดมันเป็นมนุษย์อีกพวกหนึ่ง..."
- สงครามหุ่นยนต์ (War with the Robot) - แฮรี่ แฮริสัน แปลโดย 123 "สงครามที่ก่อกำเนิดขึ้นจากมือของมนุษย์ มีเครื่องจักรและคอมพิวเตอร์เป็นผู้ช่วย ในบั้นปลายเครื่องจักรและคอมพิวเตอร์อาจเข้ามาทำหน้าที่แทนมนุษย์เลยก็ได้ แล้วเมื่อถึงเวลาที่มนุษย์อยากจะเลิกทำสงคราม พวกเครื่องจักรและคอมพิวเตอร์จะรับรู้ด้วยหรือไม่"
- สามเส้า (Triangle) – ไดแอน ทอมป์สัน และ จอร์จ ฟลอเรนซ์ กูธิดจ์ แปลโดย หนุ่ย "ไม่ว่าจะหนึ่งหญิงสองชายหรือหนึ่งชายสองหญิง ก็มักจะเกิดปัญหาขึ้นทั้งนั้น แต่จะมีสักครั้งมั๊ยที่ทั้งสามต่างรักซึ่งกันและกันหมด"
- การทดสอบ (Simulated Trainer) - แฮรี่ แฮริสัน แปลโดย ธรรมนูญ จรัสวัฒน์ "จุดอ่อนที่ผู้ถูกทดสอบล้มเหลวก็คือ พวกเขาคิดอยู่เสมอว่าตนเองอยู่ในระหว่างการฝึก รู้สึกอยู่เสมอว่าทุกอย่างที่เกิดขึ้นไม่ใช่ของจริง แต่คราวนี้จะเป็นการฝึกใหญ่ที่มันเหมือนการซ้อมรบด้วยกระสุนจริงนั่นแหละ"
- มหาภัยน้อย (The Little Terror) - วิล เอฟ. เจนกินส์ แปลโดย ประทีป "โอเกิลเดบู ... มันไม่มีเหตุการณ์แม้แต่อย่างเดียวที่จะเป็นลางบอกเหตุ ว่าช่วงเวลาที่น่าสะพรึงกลัวที่สุดในประวัติศาสตร์ได้บังเกิดขึ้นแล้ว"
- ทางออกที่ง่ายกว่า (The Disintegration Machine) - เซอร์ อาเธอร์ โคแนน ดอยล์ แปลโดย พิเชฐ ชีพสัจญาณ "เรื่องราวของ ศจ. จี.อี. ชาเลนเยอร์ กับเพื่อนของเขา เอ็ดเวิร์ด มาร์โลน นักข่าวหนุ่มหนังสือพิมพ์ ... การผจญภัยของเขาทั้งสองที่เรารู้จักกันดีก็คือ THE LOST WORLD"
- ↑ สมเกียรติ เจิ่งประภากร และคณะ. 2525. ออบิท 8 มฤตยูดำ. กรุงเทพฯ: บริษัท สยามซายน์แอนด์เทคโนโลยี จำกัด.