วิทยุเสียงอเมริกา ชื่อย่อ VoA ก่อตั้ง 1 กุมภาพันธ์ 1942; 83 ปีก่อน (1942-02-01 ) ประเภท การกระจายเสียงและการแพร่ภาพระหว่างประเทศ สํานักงานใหญ่ Wilbur J. Cohen Federal Building
ที่ตั้ง ผู้อำนวยการ
Yolanda López (รักษาการ ตั้งแต่มกราคม ค.ศ. 2021)[ 1] 252 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[ 2] พนักงาน (2021)
961[ 2] เว็บไซต์ voanews .com
วิทยุเสียงอเมริกา (อังกฤษ : Voice of America หรือ VOA หรือ VoA ) เป็นหน่วยงานจัดรายการวิทยุนานาชาติ ของสหรัฐ ที่ถือครองโดยรัฐ เป็นสื่อกระจายเสียงและการแพร่ภาพระหว่างประเทศที่ใหญ่ที่สุด[ 3] และเก่าแก่ที่สุดที่ได้รับทุนของสหรัฐ[ 4] [ 5] VOA ผลิตเนื้อหาทางดิจิทัล ทีวี และวิทยุใน 48 ภาษา[ 6] ซึ่งมีการถ่ายทอดไปยังสถานีที่เกี่ยวข้องทั่วโลก ผู้ชมและรับฟังส่วนใหญ่ไม่ใช่ชาวอเมริกัน
VOA ก่อตั้งขึ้นใน ค.ศ. 1942[ 7] และมีการลงนามกฎบัตร VOA (Public Laws 94-350 and 103–415)[ 8] เข้าในกฎหมายเมื่อ ค.ศ. 1976 โดยประธานาธิบดี เจอรัลด์ ฟอร์ด
VOA มีสำนักงานใหญ่ที่วอชิงตัน ดี.ซี. และสังเกตการณ์โดย U.S. Agency for Global Media (USAGM)[ 9] กองทุนมีการจัดสรรทุกปีภายใต้งบประมาณของสถานทูตและสถานกงสุล ใน ค.ศ. 2016 VOA ออกอากาศบนวิทยุและรายการโทรทัศน์ประมาณ 1,800 ชั่วโมงในแต่ละสัปดาห์ ให้แก่ผู้ฟัง/ชมประมาณ 236.6 ล้านคนทั่วโลกด้วยพนักงานประมาณ 1,050 คน และงบประมาณประจำปีของผู้เสียภาษีอากรที่ 218.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐ[ 10] [ 11]
ผู้ฟังต่างประเทศบางส่วนมองวิทยุเสียงอเมริกาในทางบวก[ 12] [ 13] ในขณะที่อีกส่วนหนึ่งมองเป็นรูปแบบหนึ่งของโฆษณาชวนเชื่อ และปากเสียงแก่รัฐบาลสหรัฐ[ 14]
ภาษาที่ให้บริการ
เว็บไซต์ของวิทยุเสียงอเมริกา มีการออกอากาศภาษาอังกฤษ 5 ภาษาในปี 2014 (ทั่วโลก ภาษาอังกฤษพิเศษ กัมพูชา ซิมบับเว และทิเบต ) นอกจากนี้เว็บไซต์ของวิทยุเสียงอเมริกามีภาษาต่างประเทศอีก 47 ภาษา (รายการวิทยุ กำกับด้วย "R"; รายการโทรทัศน์ กำกับด้วย "T")
ภาษาโอโรโม R
ภาษาแอลเบเนีย R, T
ภาษาอามารา R
ภาษาอาร์เมเนีย T
ภาษาอาเซอร์ไบจาน T
ภาษาบัมบารา R
ภาษาเบงกอล R, T
ภาษาบอสเนีย T
ภาษาพม่า R, T
ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน R, T
ภาษาจีนกลาง R, T
ภาษาดารี R, T
ภาษาฝรั่งเศส R, T
ภาษาจอร์เจีย R
ภาษาครีโอลเฮติ R
ภาษาฮัวซา R
ภาษาอินโดนีเซีย R, T
ภาษาเขมร R, T
ภาษาคินยาร์วันดา R
ภาษากีรุนดี R
ภาษาเกาหลี R
ภาษาเคิร์ด R
ภาษาลาว R
ภาษาลิงกาลา R
ภาษามาซิโดเนีย T
ภาษาเอ็นเดเบเลเหนือ R
ภาษาปาทาน T
ภาษาเปอร์เซีย R, T
ภาษาโปรตุเกส R
ภาษาโรฮีนจา R
ภาษารัสเซีย T
ภาษาซันโก R
ภาษาเซอร์เบีย T
ภาษาโชนา R
ภาษาสินธ์
ภาษาโซมาลี R
ภาษาสเปน R, T
ภาษาสวาฮีลี R
ภาษาตากาล็อก R
ภาษาไทย R
ภาษาทิเบต R, T
ภาษาทือกรึญญา R
ภาษาตุรกี T
ภาษายูเครน T
ภาษาอูรดู R, T
ภาษาอุซเบก R, T
ภาษาเวียดนาม R, T
ภาษาโวลอฟ
ภาษาอังกฤษ R, T
จำนวนภาษาขึ้นอยู่กับลำดับความสำคัญของรัฐบาลสหรัฐและสถานการณ์โลก[ 15] [ 16]
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
↑ "Biden Administration requests USAGM CEO Pack's resignation" . U.S. Agency for Global Media . January 21, 2021. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ August 1, 2021. สืบค้นเมื่อ January 21, 2021 .
↑ 2.0 2.1 "VOA" . U.S. Agency for Global Media (ภาษาอังกฤษ). เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ October 9, 2021. สืบค้นเมื่อ 2022-03-14 .
↑ * "RCFP urges Congress to protect Voice of America's editorial independence" . Reporters Committee for Freedom of the Press . April 28, 2020. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ June 27, 2022. สืบค้นเมื่อ December 12, 2020 .
↑ HEIL, ALAN L. (2003). Voice of America: A History . Columbia University Press. JSTOR 10.7312/heil12674 . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ June 27, 2022. สืบค้นเมื่อ December 12, 2020 .
↑ Farhi, Paul. "Trump appointee sweeps aside rule that ensured 'firewall' at Voice of America" . The Washington Post (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). ISSN 0190-8286 . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ June 22, 2022. สืบค้นเมื่อ December 12, 2020 .
↑ "VOA Launches Programming in Sindhi" . Inside VOA (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 2022-07-01. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ July 8, 2022. สืบค้นเมื่อ 2022-07-07 .
↑ "Mission and Values" . insidevoa.com . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ October 19, 2017. สืบค้นเมื่อ 2021-02-05 .
↑ 90 Stat. 823 เก็บถาวร ตุลาคม 9, 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน , 108 Stat. 4299 เก็บถาวร ตุลาคม 9, 2017 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
↑ VOA Public Relations. "VOA Charter" . InsideVOA.com . Voice of America. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ November 20, 2016.
↑ Borchers, Callum (January 26, 2017). "Voice of America says it won't become Trump TV" . The Washington Post . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ August 18, 2018. สืบค้นเมื่อ August 11, 2017 .
↑ VOA Public Relations (December 5, 2016). "The Largest U.S. International Broadcaster" (PDF) . VOANews.com . Voice of America. เก็บ (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ September 6, 2020. สืบค้นเมื่อ August 11, 2017 .
↑ Jan, F (2015). "International Broadcasting as Component of U.S. Public Diplomacy (A Case Study of Voice of America's DEEWA Radio)" (PDF) . Dialogue . 10 . เก็บ (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ April 22, 2022. สืบค้นเมื่อ August 22, 2021 .
↑ Zhang, Lena Liqing (2002). "Are They Still Listening? Reconceptualizing the Chinese Audience of the Voice of America in the Cyber Era" . Journal of Radio Studies . 9 (2): 317–337. เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ June 27, 2022. สืบค้นเมื่อ November 29, 2020 .
↑ Robinson, Dan (March 30, 2017). "Spare the indignation: Voice of America has never been independent" . Columbia Journalism Review . เก็บ จากแหล่งเดิมเมื่อ May 20, 2022. สืบค้นเมื่อ June 25, 2022 .
↑ "FAQs, How do you make decisions to cut or add languages or programs?" . bbg.gov. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม เมื่อ December 1, 2014. สืบค้นเมื่อ December 3, 2014 .
↑ "VOA Languages" (PDF) . Voice of America. เก็บ (PDF) จากแหล่งเดิมเมื่อ November 25, 2021. สืบค้นเมื่อ August 27, 2021 .
บรรณานุกรม
แหล่ข้อมูลอื่น
นานาชาติ ประจำชาติ ประชาชน อื่น ๆ