ลัทธิตีโต

ยอซีป บรอซ ตีโต

ลัทธิตีโต ได้ถูกอธิบายว่าเป็นนโยบายและแผนปฏิบัติในภายหลังสงครามโลกครั้งที่สองที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับยอซีป บรอซ ตีโต ในช่วงสงครามเย็น มีความโดดเด่นคือ การเป็นปรปักษ์กับสหภาพโซเวียต[1]

มันมักจะแสดงถึงหลักคำสอนยูโกสลาเวียของตีโตในการเมืองระหว่างประเทศช่วงสงครามเย็น มันปรากฏขึ้นด้วยการเข้าปลดปล่อยประเทศยูโกสลาเวียให้เป็นอิสระของพลพรรคชาวยูโกสลาเวีย หรือไม่ได้รับความช่วยเหลือจากกองทัพแดง ส่งผลทำให้ยูโกสลาเวียเป็นประเทศยูโรปตะวันออกเพียงประเทศเดียวที่ยังคงเป็น "สังคมนิยม, แต่มีอิสระ" ภายหลังสงครามโลกครั้งที่สอง เช่นเดียวกับการต่อต้านการกดดันของสหภาพโซเวียตเพื่อให้เป็นสมาชิกของกติกาสัญญาวอร์ซอ

ปัจจุบัน ลัทธิตีโต ยังถูกใช้เพื่อเอ่ยอ้างถึงการรำลึกถึงยูโก(Yugo-nostalgia) ความปราถนาเพื่อการสถาปนาใหม่หรือฟื้นฟูลัทธิยูโกสลาเวีย หรือ ยูโกสลาเวียโดยประชาชนของรัฐสืบทอดของยูโกสลาเวีย

อ้างอิง

  1. "Titoism". สืบค้นเมื่อ 11 March 2015.

 

Prefix: a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

Portal di Ensiklopedia Dunia