ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2018![](//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/d/d7/2018_AFF_Suzuki_Cup_logo.svg/120px-2018_AFF_Suzuki_Cup_logo.svg.png) |
รายละเอียดการแข่งขัน |
---|
ประเทศเจ้าภาพ | |
---|
วันที่ | 8 พฤศจิกายน – 15 ธันวาคม พ.ศ. 2561 |
---|
ทีม | 10 |
---|
สถานที่ | 12 (ใน 10 เมืองเจ้าภาพ) |
---|
อันดับเมื่อสิ้นสุดการแข่งขัน |
---|
ชนะเลิศ | เวียดนาม (สมัยที่ 2) |
---|
รองชนะเลิศ | มาเลเซีย |
---|
สถิติการแข่งขัน |
---|
จำนวนนัดที่แข่งขัน | 26 |
---|
จำนวนประตู | 80 (3.08 ประตูต่อนัด) |
---|
ผู้ชม | 712,945 (27,421 คนต่อนัด) |
---|
ผู้ทำประตูสูงสุด | อดิศักดิ์ ไกรษร (8 ประตู) |
---|
ผู้เล่นยอดเยี่ยม | เหงียน กวาง หาย |
---|
รางวัลแฟร์เพลย์ | มาเลเซีย |
---|
|
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018 หรือ เอเอฟเอฟ ซูซูกิ คัพ 2018 ตามชื่อของผู้สนับสนุน เป็นการแข่งขันฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียนครั้งที่ 12 จัดโดยสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ซึ่งเป็นสหพันธ์ฟุตบอลของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยในปีนี้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบการแข่งขันใหม่ คือจะไม่มีประเทศเจ้าภาพในรอบแบ่งกลุ่ม แต่จะมีทีมที่เข้าเล่นในรอบแบ่งกลุ่ม 10 ทีม แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มละ 5 ทีม แข่งขันกันแบบพบกันหมด ทีมละ 4 นัด โดยแต่ละทีมจะได้เล่นเป็นเจ้าบ้าน 2 นัด และออกไปเยือนอีก 2 นัด ซึ่งเกิดจากการสุ่ม โดยมีทีมที่จะไปรออยู่ในรอบแบ่งกลุ่มแล้ว 9 ทีม และ 2 ทีมในอันดับสุดท้ายตามการจัดอันดับของการแข่งขันเมื่อปี 2016 มาแข่งกันก่อนในรอบคัดเลือกเพลย์ออฟ เหย้า – เยือน เพื่อหาผู้ชนะเข้าไปแข่งขันในรอบแบ่งกลุ่มต่อไป[1]
ฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018 แข่งขันรอบคัดเลือกเพลย์ออฟในวันที่ 1 และ 8 กันยายน พ.ศ. 2561 และเริ่มการแข่งขันอย่างเป็นทางการในวันที่ 8 พฤศจิกายน – 15 ธันวาคม ปีเดียวกัน[1]
รอบคัดเลือก
ทีมที่เข้าร่วมการแข่งขัน
ประเทศ
|
จำนวนครั้งที่เข้าร่วม
|
ผลงานที่ดีที่สุด
|
กัมพูชา
|
7th
|
รอบแบ่งกลุ่ม (1996, 2000, 2002, 2004, 2008, 2016)
|
อินโดนีเซีย
|
12th
|
รองชนะเลิศ (2000, 2002, 2004, 2010, 2016)
|
ลาว
|
11th
|
รอบแบ่งกลุ่ม (1996 to 2014)
|
มาเลเซีย
|
12th
|
ชนะเลิศ (2010)
|
พม่า
|
12th
|
อันดับ 4 (2004), รอบรองชนะเลิศ (2016)
|
ฟิลิปปินส์
|
11th
|
รอบรองชนะเลิศ (2010, 2012, 2014)
|
สิงคโปร์
|
12th
|
ชนะเลิศ (1998, 2004, 2007, 2012)
|
ไทย
|
12th
|
ชนะเลิศ (1996, 2000, 2002, 2014, 2016)
|
เวียดนาม
|
12th
|
ชนะเลิศ (2008)
|
ติมอร์-เลสเต
|
2nd
|
รอบแบ่งกลุ่ม (2004)
|
การจับสลากแบ่งสาย
การจับสลากแบ่งสายฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018 จัดขึ้นเมื่อวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2561[2] ที่โรงแรมมูเลียในกรุง จาการ์ตา, ประเทศอินโดนีเซีย[3][4] โดยการแบ่งโถจะนำผลการแข่งขันในสองครั้งที่ผ่านมามาเป็นเกณฑ์[5]
ผู้เล่น
สนามแข่งขัน
กัวลาลัมเปอร์
|
ฮานอย
|
สนามกีฬาแห่งชาติบูกิตจาลิล
|
สนามกีฬากัวลาลัมเปอร์
|
สนามกีฬาหมีดิ่ญ
|
สนามกีฬาห่างเด๋ย
|
ความจุ: 87,411
|
ความจุ: 18,000
|
ความจุ: 40,192
|
ความจุ: 22,500
|
|
|
|
|
จาการ์ตา
|
Location of stadiums of the 2018 AFF Championship.
|
พนมเปญ
|
สนามกีฬาหลักเกอโลราบุงการ์โน
|
สนามกีฬาโอลิมปิก
|
ความจุ: 77,193
|
ความจุ: 50,000
|
|
|
คัลลัง
|
กรุงเทพมหานคร
|
สนามกีฬาแห่งชาติ
|
ราชมังคลากีฬาสถาน
|
ความจุ: 55,000
|
ความจุ: 49,722
|
|
|
ย่างกุ้ง
|
มัณฑะเลย์
|
เวียงจันทน์
|
บาโคโลด
|
สนามกีฬาธูวันนา
|
สนามกีฬามันดาลาร์ธีรี
|
สนามกีฬาแห่งชาติลาว หลัก 16
|
ปานาอัดปาร์กแอนด์สเตเดียม
|
ความจุ: 32,000
|
ความจุ: 30,000
|
ความจุ: 25,000
|
ความจุ: 9,825
|
|
|
|
|
รอบแบ่งกลุ่ม
กลุ่ม เอ
ปรับปรุงข้อมูลล่าสุดในนัดการแข่งขันที่ลงเล่นในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561. แหล่งข้อมูล:
เอเอฟเอฟ
กลุ่ม บี
หมายเหตุ 1: เนื่องจากสนามมูนิซิปาล สเตเดียม ในกรุงดิลี ประเทศติมอร์-เลสเต ไม่ผ่านการรับรองเรื่องไฟส่องสว่างจากสหพันธ์ฟุตบอลอาเซียน ทำให้สมาคมกีฬาฟุตบอลแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ยื่นข้อเสนอขอรับหน้าที่จัดการแข่งขันนัดนี้ และทางสหพันธ์ฟุตบอลติมอร์-เลสเต ก็ตอบรับ [10] อย่างไรก็ตาม โปรแกรมที่ฝ่ายจัดการแข่งขันของเอเอฟเอฟได้กำหนดเอาไว้ว่าเป็น ติมอร์-เลสเต ที่เป็นเจ้าภาพ แต่ ไทยทิคเก็ตเมเจอร์ เปิดให้ผู้ชมฝั่งไทยสามารถซื้อบัตรเข้าชมการแข่งขันนี้ได้ทุกโซน ยกเว้นเพียงโซนทีมเยือนเท่านั้น[11]
รอบแพ้คัดออก
สายการแข่งขัน
รอบรองชนะเลิศ
- เลกแรก
- เลกที่สอง
รวมผลสองนัด เสมอ 2–2, มาเลเซีย ชนะด้วยประตูทีมเยือน.
รวมผลสองนัด เวียดนาม ชนะ 4–2.
รอบชิงชนะเลิศ
- เลกแรก
- เลกที่สอง
รวมผลสองนัด เวียดนาม ชนะ 3–2.
สถิติ
ทีมชนะเลิศ
แชมเปียนฟุตบอลชิงแชมป์แห่งชาติอาเซียน 2018
|
![](//upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/2/21/Flag_of_Vietnam.svg/45px-Flag_of_Vietnam.svg.png) เวียดนาม สมัยที่ 2
|
รางวัล
ผู้ทำประตูสูงสุด
มีการทำประตูทั้งหมด 80 ประตู จากการแข่งขัน 26 นัด เฉลี่ย 3.08 ประตูต่อนัด ผู้เล่นที่อยู่ใน ตัวหนา คือยังอยู่ในระบบการแข่งขัน
- 8 ประตู
- 5 ประตู
- 4 ประตู
- 3 ประตู
- 2 ประตู
- 1 ประตู
- การทำเข้าประตูตัวเอง
อ้างอิง
|
---|
รอบ | |
---|
ข้อมูลทั่วไป | |
---|
สัญลักษณ์อย่างเป็นทางการ | |
---|
|
---|
ทัวร์นาเมนต์ | |
---|
การคัดเลือก | |
---|
นัดชิงชนะเลิศ | |
---|
ผู้เล่น | |
---|
|
---|
|
การแข่งขันฟุตบอลลีกภายในประเทศ | |
---|
ฟุตบอลถ้วยภายในประเทศ | |
---|
ลีกคัพ | |
---|
ซูเปอร์คัพ | |
---|
การแข่งขันสโมสรระดับนานาชาติ | |
---|
การแข่งขันสโมสรของเอเอฟซี | |
---|
การแข่งขันระดับทีมชาติ | |
---|