ปริมาตรกระจายตัว
ปริมาตรกระจายตัว (อังกฤษ: volume of distribution) (VD) , หรือ ปริมาตรกระจายตัวชัดเจน, เป็นศัพท์ทาง เภสัชวิทยา ที่ใช้บอกปริมาณการกระจายตัวของ ยา ทั่วทั้วร่างกายหลังจากรับประทานยาหรือฉีดยาเข้าเส้น มันถูกกำหนดเป็นปริมาตรซึ่งจำนวนยาควรจะกระจายตัวอย่างสม่ำเสมอเพื่อการสังเกตในความเข้มข้นของเลือดได้ ซึ่งเขียนเป็นสมการได้ดังนี้:
ปริมาณยาที่ต้องการให้ที่จะทำให้เกิดความเข้มข้นในพลาสมา ถ้ารู้ค่าของ VD VD ไม่ใช่ปริมาตรที่แท้จริง; มันสะท้อนกลับออกมาว่ายากระจายตัวทั่วร่างกายขึ้นอยู่กับหลายคุณสมบัติทางฟิสิกส์และเคมีดังนี้ การละลาย ประจุไฟฟ้า ขนาด ฯลฯ VD อาจใช้หาว่ายาเข้าไปแทนที่ในเนื้อเยื้อของร่างกายเทียบกับในเลือดอย่างไร: Where: VP = ปริมาตร (plasma volume) VT = ปริมาตรเนื้อเยื้อชัดเจน (apparent tissue volume) fu = ส่วนที่กระจายตัวในพลาสมา (fraction unbound in plasma) fuT = ส่วนที่กระจายตัวในเนื้อเยื้อ (fraction unbound in tissue)
วาร์ฟาริน VD = 8L Reflects a high degree of plasma protein binding. ทีโอไฟล์ลีน, เอตทานอล, VD = 30L Represents distribution in total body water. คลอโรควิน VD = 15000L Shows highly lipophilic molecules which sequester into total body fat. |
Portal di Ensiklopedia Dunia