ประวัติศาสตร์กฎหมาย

กษัตริย์ฮัมมูราบีได้รับประทานประมวลกฎหมาย โดยชามาห์เทพเจ้าแห่งความยุติธรรม
รัฐธรรมนูญของอินเดียเป็นรัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร ซึ่งมี 444 มาตรา 12 หมวด และฉบับแก้ไขอีกจำนวนมาก
King John of England signs the Magna Carta
King John of England signs the Magna Carta

ประวัติศาสตร์กฎหมาย คือการศึกษาว่ากฎหมายนั้นพัฒนาตัวขึ้นมาอย่างไรและเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร ประวัติศาสตร์กฎหมายมีความใกล้ชิดเป็นอย่างยิ่งต่อการพัฒนาอารยธรรม[1] และเป็นตัวที่กำหนดบริบทของให้กับประวัติศาสตร์ของสังคมอย่างกว้างขวางอีกด้วย ในบรรดานักกฎหมายและนักประวัติศาสตร์กฎหมาย ซึ่งใช้มุมมองในการมองกฎหมายในรูปแบบของความเป็นไปของพัฒนาการของกฎหมายและการอธิบายหลักกฎหมาย

เมดิเตอร์เรเนียนโบราณ

เอเชียใต้

อินเดียและจีนโบราณนั้นเป็นตัวแทนของขนบประเพณีอันโดดเด่นของกฎหมาย และยังมีสำนักแห่งทฤษฎีทางกฎหมายและวิธีปฏิบัติทางกฎหมายที่เป็นอิสระอีกด้วย โดยคัมภีร์อรรถศาสตร์ (ตั้งแต่ 400 ปีก่อนคริสตกาล) และคัมภีร์พระธรรมศาสตร์ (ตั้งแต่คริสต์ศักราช 100) ได้มีอิทธิพลต่อบทความต่างๆ ในอินเดีย ซึ่งเนื้อหาเหล่านั้นต่างเป็นการแนะแนวทางกฎหมายซึ่งเชื่อถือได้ โดยมีปรัชญาอันเป็นศูนย์กลางแห่งมนู อันได้แก่ ความอดทน (ตบะ) และชนชั้นวรรณะ และปรัขญานี้ก็ได้ถูกกล่าวถึงไปทั่วเอเชียอาคเนย์แต่ขนบธรรมเนียมของฮินดูและกฎหมายอิสลามนั้น ถูกแทนที่ด้วยระบบกฎหมายจารีตประเพณี เมื่ออินเดียได้ตกเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิอังกฤษ มาเลเซีย บรูไน สิงคโปร์ และฮ่องกง ก็ได้รับเอาระบบกฎหมายจารีตประเพณีไปใช้ด้วยไปใช้ด้วย

เอเชียตะวันออก

กฎหมายอิสลาม

กฎหมายยุโรป

จักรวรรดิโรมัน

กฎหมายยุคกลาง

กฎหมายยุโรปยุคใหม่

กฎหมายสหรัฐอเมริกา

หมายเหตุ

  1. "International law - Historical development". Encyclopedia Britannica (ภาษาอังกฤษ). สืบค้นเมื่อ 2021-03-16.

อ้างอิง

แหล่งข้อมูลอื่น

 

Prefix: a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

Portal di Ensiklopedia Dunia