การป้องกันความเสียหาย

การป้องกันความเสียหายที่เวลา 9:25 น. วันที่ 7 ธันวาคม ค.ศ. 1941 ยูเอสเอส เนวาดา เกิดเกยฝั่งและไฟไหม้หลังการโจมตีด้วยระเบิดและตอร์ปิโดจากฝ่ายญี่ปุ่น เรือโยงจากท่าเรือกำลังช่วยระงับไฟไหม้

การป้องกันความเสียหาย[1] หรือ การควบคุมความเสียหาย (อังกฤษ: Damage control) เป็นคำที่ใช้ในเรือสินค้า อุตสาหกรรมทางทะเล และ กองทัพเรือ สำหรับการควบคุมสถานการณ์ฉุกเฉินที่อาจมีอันตรายจนทำให้เรืออับปาง นอกจากนี้ยังใช้ในสภาพแวดล้อมอื่นๆตามที่อธิบายไว้ด้านล่าง

ตัวอย่างเช่น:
  • การแตกของปล่องหรือตัวเรือโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านล่างของเส้นแนวน้ำของเรือ
  • ความเสียหายจากการเกยตื้นหรือกระแทกกับท่าจอดเรือ
  • ซ่อมแซมชั่วคราวจากความเสียหายของระเบิด

นอกจากนี้ยังเป็นคำที่ใช้ในการบริหารโครงการและบริบทอื่นที่พรรณนาการกระทำที่จำเป็นในการจัดการกับปัญหาใดๆที่อาจเป็นอันตรายต่อความพยายามนั้นๆ และมันได้ถูกนำไปใช้ในทางการเมืองและสื่อในการอธิบายถึงความจำเป็นที่ต้องระงับข้อมูล หรือการหมุนเวียนแพทย์เพื่อตอบสนองต่อสถานการณ์

แหล่งข้อมูลอื่น

วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ Damage control

อ้างอิง

  1. ศัพท์ทหารเรือ กองทัพเรือ

 

Prefix: a b c d e f g h i j k l m n o p q r s t u v w x y z 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9

Portal di Ensiklopedia Dunia